Page 113 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 113

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       90







                                    2) มันส้าปะหลัง มีเนื้อที่ตามสภาพการใช้ที่ดินจ้านวน 558,485  ไร่ เมื่อน้ามา
                       พิจารณา คุณภาพที่ดินตามศักยภาพชั้นความเหมาะสมของเนื้อที่ลุ่มน้้า 1,848,469 ไร่ นั้นพบว่า
                       มันส้าปะหลัง มีเนื้อที่ความเหมาะสมปานกลาง 1,009,278 ไร่ มีเนื้อที่เหมาะสมเล็กน้อย 32,046 ไร่
                       และมีเนื้อที่ไม่เหมาะสม 807,145 ไร่ จะเห็นได้ว่า หากพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร มีปริมาณน้้าฝนตลอดทั้งปี

                       ในปริมาณ 1,200  ถึง 1,500  มิลลิเมตร จะท้าให้มันส้าปะหลัง เป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                       นอกจากนี้ปริมาณเกลือที่มากเกินไปและพื้นที่ที่มีการระบายน้้าเลว มากในพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร
                       จึงมีเนื้อที่ที่ไม่เหมาะสมที่จะปลูกมันส้าปะหลังเป็นจ้านวนมาก ดังที่กล่าวมาข้างต้น หากจะท้าการ
                       ส่งเสริมให้มีการปลูกมันส้าปะหลังเพิ่มขึ้นควรท้าการปรับปรุงดินให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น

                       และยกร่องเพื่อยกระดับการระบายน้้าให้กับมันส้าปะหลังเพราะมันส้าปะหลังมีผลตอบสนองต่อการ
                       ระบายน้้ามาก เมื่อมีการระบายน้้าเลวจะส่งผลต่อหัวของมันส้าปะหลังท้าให้หัวเน่า ผลผลิตของ
                       เกษตรกรลดลงด้วยเช่นกัน ดังภาพที่ 16
                                    3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีเนื้อที่ตามสภาพการใช้ที่ดินจ้านวน 93,809  ไร่ เมื่อ

                       น้ามาพิจารณา คุณภาพที่ดินตามศักยภาพชั้นความเหมาะสมของเนื้อที่ลุ่มน้้า 1,848,469 ไร่ นั้น
                       พบว่า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีเนื้อที่ความเหมาะสมปานกลาง 1,158,365 ไร่ มีเนื้อที่เหมาะสมเล็กน้อย
                       480,450 ไร่ และมีเนื้อที่ไม่เหมาะสม 209,654  ไร่ จะเห็นได้ว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นอีกพืชที่มี

                       ข้อจ้ากัดในเรื่องของปริมาณน้้าฝน ในช่วงที่ข้าวโพดต้องการน้้าเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต ระหว่าง
                       เดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคม นั้นหากพื้นที่ของลุ่มน้้าล้าเชิงไกรมีปริมาณน้้าฝน อยู่ระหว่าง 500 ถึง 800
                       มิลลิเมตร จะท้าให้พืชมีเนื้อที่ความเหมาะสมสูง เพราะคุณสมบัติดินส่วนใหญ่ในพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร
                       จะมีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อยู่แล้ว หากเพิ่มการส่งเสริมให้มีการเจาะน้้าบาดาล
                       เพื่อการเกษตรเพิ่มขึ้น ยิ่งจะท้าให้พืชมีผลผลิตดียิ่งขึ้น ดังภาพที่ 17

                                    4) อ้อยโรงงาน มีเนื้อที่ตามสภาพการใช้ที่ดินจ้านวน 148,465  ไร่ เมื่อน้ามา
                       พิจารณา คุณภาพที่ดินตามศักยภาพชั้นความเหมาะสมของเนื้อที่ลุ่มน้้า 1,848,469 ไร่ นั้นพบว่า
                       อ้อยโรงงาน มีเนื้อที่ความเหมาะสมเล็กน้อย 1,362,458 ไร่ มีเนื้อที่ไม่เหมาะสม 486,011 ไร่ จะเห็น

                       ได้ว่าเนื้อที่อ้อยโรงงาน มีเนื้อที่ความเหมาะสมเล็กน้อยในการปลูกถึง 1,362,458 ไร่ เนื่องจากสาเหตุ
                       ของปริมาณน้้าฝน ที่เหมาะสมในการปลูกอ้อยโรงงาน มีระดับความเหมาะสมมากที่สุดอยู่ที่ 1,600 ถึง
                       2,500  มิลลิเมตร แต่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกรมีปริมาณน้้าฝน 1,081.40 มิลลิเมตร ซึ่งอยู่ในระดับความ
                       เหมาะสมเล็กน้อย นอกจากนี้การมีเกลือมากเกินไปส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชท้าให้ผลผลิตของ

                       การปลูกอ้อยลดลง จึงไม่เหมาะที่จะส่งเสริมให้มีการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าว ดังภาพที่ 18
                                    5) ข้าวนาปีตามด้วยข้าวนาปรัง เป็นประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ใช้น้้า
                       ชลประทาน น้้าบาดาลเพื่อการเกษตร หรือสูบน้้าจากล้าห้วยธรรมชาติ หนองน้้าชุมชน และแหล่งน้้า
                       ในไร่นาที่กรมพัฒนาที่ดินได้ด้าเนินการให้เกษตรกรเพื่อใช้ ในการท้านาปรังหลังฤดูท้านาปี เมื่อน้ามา

                       พิจารณา คุณภาพที่ดินตามศักยภาพชั้นความเหมาะสมของเนื้อที่ลุ่มน้้า 1,848,469 ไร่ พบว่า มีเนื้อที่
                       เหมาะสมสูง  3,948 ไร่ มีเนื้อที่เหมาะสมปานกลาง 788,878 ไร่ มีเนื้อที่เหมาะสมเล็กน้อย9,583 ไร่
                       และมีเนื้อที่ไม่เหมาะสม 1,046,060 ไร่ เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกรเป็นพื้นที่ที่มีปริมาณสารละลาย
                       เกลือในดินมากเกินไป แพร่กระจายอยู่เกือบทั้งลุ่มน้้า หากปริมาณน้้าที่ใช้ในการท้านาปรังไม่เพียงพอ
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118