Page 110 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 110

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       88







                                    (1)  ข้าวนาปี
                                      -   ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 4 4/38 7 7hi
                       7B  17  18  18csub  20  20/20f  20f  20f,ssub  20hi  22  31BM3  31M3  35BM3/40B  36M3
                       6B,csubM3  36BM3  36M3  37,flM3  37B,flM3  37M3  38/38fsiM3  40BM3  40C/RCM3

                       41B,d3clayM3 41B/41BM3 41BM3 41C,d3clayM3 44BM3 44M3 55BM3 55M3 56B/RCM3
                       56BM3  60M3  โดยมีข้อจ้ากัด คือ  ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ความเป็นประโยชน์ของธาตุ
                       อาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร และการมีเกลือมากเกินไป
                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 7hi,sa 22sa โดยมี

                       ข้อจ้ากัด คือ การมีเกลือมากเกินไป
                                    (2)  มันส้าปะหลัง
                                      -     ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน     17M4
                       18csubM4 22M4 31 31B 35B 35B/40B 35BM3/40B 36 36B 37 37,fl 37B 37B,fl 38/38fsi

                       40B 41B 41B,d3clay 41B/41B 41C,d3clay 55 55B 56B 56B 56C 60 โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความ
                       ชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร  และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร
                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน  44  44B  48C/56C

                       โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร
                                    (3)  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                      -     ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน     17M4
                       18csubM4 22M4 31 31B 31M3 35B 35B/40B 35BM3/40B 36 36B 36B,csub 37 37,fl 37B
                       37B,fl 38/38fsi 40B 41B 41B,d3clay 41B/41B 41C,d3clay 44 44B 48C/56C 55 55B 56B

                       56C  60  โดยมีข้อจ้ากัด คือ  ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
                       และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน  48D/RC  โดยมี

                       ข้อจ้ากัด คือ การมีเกลือมากเกินไป สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                                    (4)  อ้อยโรงงาน
                                      -     ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน  4/38  17M4
                       18csubM4 22M4 31 31B 35B 35B/40B 35BM3/40B 36 36B 36B,csub 37 37,fl 38/38fsi

                       40B 41B 41B,d3clay 41B/41B 41C,d3clay 44 44B 48C/56C 56B 56C 60 โดยมีข้อจ้ากัด คือ
                       ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช และสภาวะการหยั่งลึกของราก

                                2) เขตพื้นที่เกษตรใช้น้้าชลประทานและพื้นที่ใช้น้้าจากแหล่งน้้าตามธรรมชาติหรือ
                       แหล่งน้้าใต้ดิน จากการวิเคราะห์ข้อมูลกายภาพในเขตพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร ได้ด้าเนินการ
                       ประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ประกอบด้วย ข้าวนาปีตามด้วย

                       ข้าวนาปรัง ข้าวนาปีตามด้วยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีความเหมาะสมของที่ดินตามคุณลักษณะของที่ดินได้
                       ดังนี้ (ตารางที่ 20)
                                  (1)  ข้าวนาปีตามด้วยข้าวนาปรัง
                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมสูง (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 18 22I
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115