Page 109 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 109

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       87







                       เกิดดินเค็ม กลุ่มชุดดินเหล่านี้จะท้าให้ข้าวไม่ได้ผลผลิตเพราะปริมาณเกลือที่มีมากเกินไป สร้างความ
                       เสียหายให้กับเกษตรกรในพื้นที่มาก แต่เกษตรกรบางรายก็ท้าการต้มเกลือสินเธาว์ โดยใช้วิธีแบบ
                       ภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อบริโภคในครัวเรือนซึ่งการท้าเกลือสินเธาว์จะท้าให้มีผลต่อการแพร่กระจาย
                       ดินเค็มและอาจมีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม หรือหลุมยุบเป็นบริเวณกว้าง ซึ่งอาจเป็นไปได้จากอดีต ที่มี

                       ปรากฏการของหลุมยุบขนาดเล็กในพื้นที่ที่ท้านาเกลือ และใกล้เคียงเกิดขึ้นมาแล้ว เช่น ที่บริเวณบ้าน
                       วัง อ้าเภอโนนไทย
                              เมื่อปี พ.ศ.2557-2558  สภาพภัยแล้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร โดยเฉพาะปริมาณ
                       น้้าฝนที่ไม่เพียงพอต่อการท้าการเกษตร ท้าให้ผลผลิตของพืชไร่ในพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร ลดลงจากปีที่

                       ผ่านมาเป็นจ้านวนมาก เกษตรกรในพื้นที่ส่วนใหญ่ต้องการ การท้าฝนเทียม และการช่วยเหลือจาก
                       รัฐบาลในเรื่องของปริมาณน้้าอุปโภค และบริโภค การประกันราคาผลผลิตกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่ง
                       จ้าเป็นอย่างยิ่งที่นักวิชาการต้องน้าข้อมูลเหล่านี้มาพิจารณา และวิเคราะห์น้าเสนอเจ้าหน้าที่
                       หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้าเนินการต่อไป


                       4.5  การประเมินคุณภาพที่ดิน

                              การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยที่ดินต่อการใช้
                       ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ ในระดับการจัดการที่แตกต่างกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี
                       กลุ่มวางแผนทรัพยากรน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดินได้เลือกใช้วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการของ

                       FAO Framework ซึ่งมีจ้านวน 2 รูปแบบ แต่ในการประเมินคุณภาพที่ดินเบื้องต้นจะท้าการประเมิน
                       เพียงด้านเดียว คือ การประเมินทางด้านคุณภาพ เป็นการประเมินเชิงกายภาพว่าที่ดินนั้นๆ มีความเหมาะสม
                       มากหรือน้อยเพียงใดต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ โดยศึกษาการประเมินคุณภาพดินร่วมกับ
                       ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้ก้าหนดเป็นตัวแทนการเกษตรกรรมหลักในลุ่มน้้าสาขา รวมทั้งยังได้
                       ประเมินคุณภาพที่ดินจากพืชที่ควรแนะน้าในลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร การวิเคราะห์ได้ค้านึงถึงปัจจัยที่มี

                       ผลต่อการเจริญเติบโตของพืชในแต่ละด้านของดินที่แตกต่างกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินแตกต่างกัน
                       ไปตามวัตถุต้นก้าเนิดของดิน ซึ่งคุณลักษณะที่ดินที่ใช้ในการแสดงค่าเพื่อวัดระดับการเจริญเติบโต
                       แตกต่างกัน

                              ผลจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร สามารถจ้าแนกการ
                       จัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นย่อยโดยแยกเป็นเขตเกษตรที่อาศัยน้้าฝน และ เขตพื้นที่
                       เกษตรน้้าฝ น มีการใช้น้้าจากแหล่งน้้าตามธรรมชาติและแหล่งน้้าใต้ดินในการเพาะปลูกพืช
                       มีรายละเอียดดังนี้

                              4.5.1  การประเมินความเหมาะสมของที่ดิน

                                  1) เขตพื้นที่เกษตรน้้าฝน จากการวิเคราะห์ข้อมูลกายภาพในเขตพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิง

                       ไกร สามารถประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และเป็นพื้นที่ที่ใช้
                       น้้าฝนในการปลูกพืช ประกอบด้วยข้าวนาปี มันส้าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และอ้อยโรงงาน มีความ
                       เหมาะสมของที่ดินตามคุณลักษณะของที่ดินได้ดังนี้ (ตารางที่ 19)
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114