Page 111 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 111

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       89







                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 4 4/38 7 7hi 7B
                       17 18csub 20 20/20f 20f 20f,ssub 31M3 31BM3 35BM3/40B 36B,csubM3 36M3 36BM3
                       37,flM3  37B,flM3  37M3  38/38fsiM3  40BM3  40C/RCM3  41B,d3clayM3  41BM3
                       41C,d3clayM3  44BM3  44M3  55BM3  55M3  56B/RCM3  56BM3  60M3  โดยมีข้อจ้ากัด คือ

                       ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร และการมีเกลือมากเกินไป
                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 7hi,sa  โดยมี
                       ข้อจ้ากัด คือ การมีเกลือมากเกินไป
                                  (2)   ข้าวนาปีตามด้วยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมสูง (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 18 22I1 31BM3 31M3
                       35BM3/40B 36B,csubM3 36BM3 36M3 37,flM3 37B,flM3 37M3 40BM3 40C/RCM3 60M3
                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 4 4/38 7 7hi 7B
                       18csub  38/38fsiM3  41B,d3clayM3  41BM3  41C,d3clayM3  44M3  55BM3  55BM3  โดยมี

                       ข้อจ้ากัด คือ  ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร  ความเป็นประโยชน์ของอ๊อกซิเจนต่อรากพืช และ
                       ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร
                                      - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 7hi,sa  20  20/20f

                       20f  20f,ssub  22sa 55M3 56B/RCM3 56BM3 โดยมีข้อจ้ากัด คือ การมีเกลือมากเกินไป สภาวะ
                       การหยั่งลึกของราก
                            4.1.2 เนื้อที่ชั้นความเหมาะสมตามศักยภาพในการปลูกพืชแต่ละชนิด
                                  จากการประเมินคุณภาพที่ดินสามารถสรุปพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกพืชแต่ละ
                       ชนิดโดยพิจารณาจากเนื้อที่ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ด้าเนินการปลูกจริงและมีเนื้อที่การปลูกพืช

                       มากที่สุดในลุ่มน้้าล้าเชิงไกร จ้านวน 6 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นพืชตัวอย่างที่น้ามาพิจารณา
                       ชั้นความเหมาะสมตามศักยภาพ ของเนื้อที่ลุ่มน้้า โดยพื้นที่ลุ่มน้้ามีเนื้อที่ทั้งหมด  1,848,469 ไร่
                       ซึ่งสามารถสรุปเนื้อที่ที่ศักยภาพตามชั้นความเหมาะสมในระดับต่างๆ ดังตารางที่ 18 โดยมี

                       รายละเอียดดังนี้
                                    1) ข้าวนาปี มีเนื้อที่ตามสภาพการใช้ที่ดินจ้านวน 729,025  ไร่ เมื่อน้ามา
                       พิจารณาคุณภาพที่ดินตามศักยภาพชั้นความเหมาะสม ของเนื้อที่ลุ่มน้้า 1,848,469 ไร่ นั้น พบว่ามี
                       เนื้อที่ชั้นความเหมาะสมปานกลาง 867,163 ไร่ มีเนื้อที่เหมาะสมเล็กน้อย 10,163 ไร่ และมีเนื้อที่

                       ไม่เหมาะสม  971,143 ไร่ จะเห็นได้ว่า พื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร ถ้ามีปริมาณน้้าฝนช่วงที่พืชต้องการน้้า
                       มากที่สุด คือ เดือนมิถุนายน กรกฏาคม ถึงต้นเดือนสิงหาคม ในปริมาณ 700  ถึง 800  มิลลิเมตร
                       จะท้าให้ข้าวนาปี เป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง แต่หากเกษตรกรใช้น้้าจากแหล่งน้้าชลประทาน
                       เข้าช่วยจะท้าให้ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นเป็นอย่างดี นอกจากนี้การมีปริมาณเกลือในดินที่มาก

                       เกินไปของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร ก็ส่งผลกระทบกับข้าวท้าให้มีเนื้อที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูก
                       ข้าวมาก เช่นกัน เพราะปริมาณน้้าฝนในช่วงเพาะปลูกไม่เพียงพอต่อการท้าละลายกับปริมาณเกลือ
                       ในดินเมื่อพืชน้าไปใช้ประโยชน์ ท้าให้ข้าวไม่เจริญเติบโตและยืนต้นตาย ซึ่งส่งผลกระทบกับเกษตรกร
                       ในพื้นที่ลุ่มน้้าเป็นอย่างมาก ดังภาพที่ 15
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116