Page 100 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 100

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     80






                  4.2  การวิเคราะห์ด้านสภาพภูมิอากาศ

                          1) การผันแปรของปริมาณน้้าฝนรายปีลุ่มน้้าล้าเชิงไกร การผันแปรของปริมาณน้ าฝน ซึ่ง
                  เป็นสภาพที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขได้ จากสภาพการผันแปรของปริมาณ

                  น้ าฝนที่ตกนี้ส่งผลให้เกิดภาวะภัยแล้งในช่วงที่ฝนทิ้งช่วง และในช่วงที่ฝนตกหนักในช่วงสั้นๆ ก็ก่อให้เกิด
                  ปริมาณน้ าจ านวนมากไหลหลากมาตามล าน้ าเข้าท่วมพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่เกษตรกรรม สภาพความ
                  ผันแปรของปริมาณน้ าฝนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเริ่มปรากฏให้เห็นชัดเจนขึ้น ในภาพรวม
                  การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะเป็นการเพิ่มขึ้นของปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยต่อปี การเปลี่ยนแปลงด้านการ
                  กระจายตัวของปริมาณน้ าฝนรายเดือน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการท าการเกษตร เมื่อมีปริมาณน้ าฝนตก

                  ติดต่อกันเป็นเวลานานหลายเดือนท าให้มีการระบายน้ าฝนมากกว่าปกติ ในช่วงฤดูฝน ดังจะเห็นได้จาก
                  ข้อมูลปริมาณน้ าฝนของกรมอุตินิยมวิทยาในปี 2529-2557 เทียบกับค่าสูงสุด ต่ าสุด และค่าเฉลี่ยใน
                  รอบ 28 ปี ปริมาณน้ าฝนที่ตกในลุ่มน้ าล าเชิงไกร ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา (ปี 2529-2557) พบว่าปริมาณ

                  น้ าฝนเฉลี่ยต่อปีในลุ่มน้ าล าเชิงไกร มีการกระจายตัวอยู่ระหว่าง 800-1,400 มิลลิเมตร เมื่อเปรียบเทียบ
                  ปริมาณฝนเฉลี่ยของปี พ.ศ.  2544-2548  พบว่า ปริมาณน้ าฝนมีการทิ้งช่วงในปริมาณมากและมีความ
                  แตกต่างชัดเจน ในปี 2548–2557 โดยมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงอย่างชัดเจนดังภาพที่ 13
                          2) การเปรียบเทียบปริมาณน้้าฝนในแต่ละช่วงปีของลุ่มน้้าล้าเชิงไกร การเปรียบเทียบ

                  ปริมาณน้ าฝนในช่วง 10 ปี 20 ปี และ 30 ปี ของลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกรพบว่า การผันแปรในแต่ละช่วงปี
                  มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพภูมิอากาศและ ฤดูกาลของธรรมชาติ ซึ่งฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคมถึง
                  ปลายเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนอยู่ระหว่าง 40-160 มิลลิเมตร ซึ่งต่ ากว่าค่าปกติซึ่ง
                  หมายถึงปริมาณฝนเฉลี่ยในคาบ 30  ปี (พ.ศ.2529-2559)  คือค่า 203 211  266 242  มิลลิมตร

                  ตามล าดับ(กรมอุตุนิยมวิทยา, 2559) อาจส่งผลให้เกิดภาวะภัยแล้งระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน ช่วง
                  ฤดูฝนระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนอยู่ระหว่าง 80-280 มิลลิเมตร
                  ปริมาณน้ าที่มีมากในเดือนสิงหาคมและกันยายนซึ่งมีค่ามากกว่าค่าปรกติ บวกกับการที่เป็นช่วงฤดูกาลที่
                  มีฝนตกต่อเนื่องอาจส่งผลกระทบต่อการเกษตรท าให้เกิดน้ าท่วมขังได้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน

                  พฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ พบว่าเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคมมีปริมาณน้ าฝนน้อยกว่า 30                                                         80
                  มิลลิเมตร เป็นช่วงที่มีการคายระเหยของน้ ามาก ส่งผลให้ปริมาณน้ าที่มีอยู่เริ่มลดปริมาณลงเรื่อยๆ ซึ่ง
                  จะเห็นว่า การผันแปรปริมาณน้ าฝนในช่วง 10 ปี 20 ปี และ 30 ปี มีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงฤดูกาล

                  ของธรรมชาติ ไปในทิศทางเดียวกัน แต่ช่วง 10 ปี มีปริมาณน้ าฝนมากกว่า ช่วง 20 ปี และ 30 ปี  ซึ่ง
                  เห็นความแตกต่างได้ชัดเจน ดังภาพที่ 14
                          จากผลการศึกษาพบว่าพื้นที่ของลุ่มน้ าล าเชิงไกรเป็นพื้นที่ที่มีผลกระทบในเรื่องภูมิอากาศเป็น
                  อย่างยิ่ง โดยเฉพาะปริมาณน้ าฝนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นแต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการน้ าเพื่อ
                  การเกษตร จึงส่งผลต่อการท าการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกร โดยจะเห็นได้จากผลผลิตทาง

                  การเกษตรที่มีปริมาณลดลง พืชบางชนิดไม่สามารถเจริญเติบโตได้ และผลผลิตลดลง เกษตรกรบางรายที่มี
                  แหล่งน้ าใต้ดิน หรือบางรายที่มีพื้นที่ใกล้แหล่งน้ าธรรมชาติ จ าเป็นต้องสูบน้ ามาช่วยเพื่อท าให้พืช
                  เจริญเติบโตและให้ผลผลิต ออกสู่ตลาดให้ได้จะได้น ารายได้มาใช้จ่ายในเรื่องของต้นทุนทางการเกษตร
                  และดูแลครอบครัวต่อไป
































                    ปริมาณน้้าฝน (มม.)

                        1600
                        1400
                                                                                                 Sum
                        1200
                                                                                                 Linear
                        1000                                                                     (Sum)
                        800
                                                                                 y = 9.6091x + 930.16
                        600                                                         R² = 0.1313

                        400
                        200

                          0                                                                  ปี
                            1986  1988  1990  1992  1994  1996  1998  2000  2002  2004  2006  2008  2010  2012  2014
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105