Page 96 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     77







                        4.1.3  การวิเคราะห์การชะล้างพังทลาย

                            จากสภาพการใช้ที่ดินที่กล่าวมาจากข้อมูลทั่วไป เห็นได้ว่ามีการใช้ประโยชน์ที่ดินมากขี้น
                  ส่งผลกระทบทั้งในด้านกายภาพ และเศรษฐกิจ สังคม ส าหรับในด้านกายภาพอาจส่งผลต่อระดับอัตรา

                  การชะล้างพังทลายของดินลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกร เนื่องจากการใช้ที่ดินที่ผิดประเภท เช่น การดัดแปลง
                  พื้นที่นาข้าวเพื่อใช้ปลูกพืชไร่โดยมีการปรับรูปแปลงนา และยกร่องปลูกพืชไร่ และไม้ผล นอกจากนี้ยังมี
                  การน าพื้นที่ดอนมาท านา สังเกตได้จากการปั้นคันนาบนพื้นที่ดอนเพื่อปลูกข้าว คือ หน่วยที่ดินที่มี M3

                  ได้แก่ 31M3  31BM3  35BM3  36B,csubM3  36M3  36BM3 37M3  37B,flM3  38fsiM3  40BM3
                  40C/RCM3 41B,d3clayM3 41BM3 41C,d3clayM3 44M3 44BM3 55M3 55BM3 56BM3 60M3
                  จากสภาพการใช้ที่ดินดังกล่าวก่อให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลาง
                            ซึ่งในปี 2558 ข้อมูลจาก (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2558) พบว่าระดับอัตราการ
                  ชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกร (ตารางที่ 15) สามารถแบ่งได้ 3 ระดับ ดังนี้

                              1) ระดับการสูญเสียดินน้อย มีเนื้อที่ 1,173,058 ไร่ หรือร้อยละ 63.47 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                  มีการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี
                              2) ระดับการสูญเสียดินปานกลาง มีเนื้อที่ 663,313 ไร่ หรือร้อยละ 35.88 ของพื้นที่

                  ลุ่มน้ าสาขา มีการสูญเสียดิน 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี
                              3) ระดับการสูญเสียดินรุนแรง มีเนื้อที่ 12,098 ไร่ หรือร้อยละ 0.65 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                  มีการสูญเสียดิน 5-15 ตันต่อไร่ต่อปี

                  ตารางที่ 15 ระดับอัตราการชะล้างพังทลายของดินลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกรปี 2554 และปี 2558

                     ระดับการ        อัตราการ
                  ชะล้างพังทลาย     สูญเสียดิน            เนื้อที่ปี 2554             เนื้อที่ปี 2558

                      ของดิน        (ตัน/ไร่/ปี)             ไร่     ร้อยละ             ไร่      ร้อยละ

                  1. น้อย              0-2           1,238,833        67.02        1,173,058      63.47                                                        77
                  2. ปานกลาง           2-5             605,819        32.77          663,313      35.88

                  3. รุนแรง            5-15              3,817         0.21           12,098       0.65

                               รวม                   1,848,469          100       1,848,469        100

                  หมายเหตุ : วิเคราะห์โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                  ที่มา : กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน (2558)

                        จากตารางผลการประเมินระดับอัตราการชะล้างพังทลายของดินลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกรโดยใช้
                  ฐานข้อมูลทรัพยากรดิน เปรียบเทียบระหว่างปี 2554 และปี2558 นั้น แนวโน้มของระดับอัตราการ
                  ชะล้างพังทลายของดิน มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โดยพื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินน้อย (0-2 ตัน/ไร่/ปี) ลดลงจาก
                  ร้อยละ 67.02 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา เป็นร้อยละ 63.47 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา โดยพื้นที่ที่มีระดับการ

                  สูญเสียดินปานกลาง (2-5  ตัน/ไร่/ปี)  และพื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินรุนแรง (5-15  ตัน/ไร่/ปี) มีแนวโน้ม
                  เพิ่มขึ้น พื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินปานกลาง (2-5 ตัน/ไร่/ปี) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 32.77ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101