Page 102 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     82






                  4.3  การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน

                        การวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกรโดยใช้ข้อมูล จากกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน
                  (2558) โดยน าข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึงปี พ.ศ. 2558 มาวิเคราะห์ถึงการ
                  เปลี่ยนแปลงซึ่งพบว่ามีการเปลี่ยนแปลง ดังต่อไปนี้ (ตารางที่ 16 และตารางที่ 17)

                        4.3.1 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) ประกอบด้วย ตัวเมืองและย่านการค้า หมู่บ้าน สถานที่
                  ราชการ ถนน ย่านอุตสาหกรรม สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ รีสอร์ท สุสาน  สถานีพบริการน้ ามัน และ
                  สนามกล๊อฟ มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 94,168 ไร่ ในปี พ.ศ.2550 เป็น 95,193 ไร่ ในปี พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้น
                  โดยรวม 1,025 ไร่ หรือร้อยละ 1.09 ของเนื้อที่เดิม

                            หากพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลงพบว่า พื้นที่ชุมชน และสิ่งปลูกสร้างในปี พ.ศ.2558
                  มาจากพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเดิม ในปี พ.ศ. 2550 อยู่ 94,168 ไร่ และเพิ่มขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงมาจาก
                  ประเภทการใช้ที่ดินอื่นๆ ในปี พ.ศ. 2550 จ านวน 1,025 ไร่ โดยมีการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ปลูกพืชไร่มากที่สุด

                  776 ไร่ รองลงมาเป็นพื้นที่เบ็ดเตล็ด 119 ไร่ พื้นที่นาข้าว 80 ไร่ และเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล 50 ไร่ตามล าดับ
                        4.3.2 พื้นที่เกษตรกรรม (A) ในปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 1,581,991 ไร่ มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น
                  ในปี พ.ศ. 2558 เป็น 1,591,941 ไร่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยรวม 9,950 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของ
                  เนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ 0.63 ซึ่งส่วนใหญ่พื้นที่เกษตรกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง จะมีรายละเอียดดังนี้
                            1) เกษตรผสมผสาน (A0)  จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 479 ไร่ โดยมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น ในปี

                  พ.ศ. 2558 ซึ่งมีเนื้อที่ 543 ไร่ มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 64 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ
                  13.36 ซึ่งเนื้อที่ที่เพิ่มขึ้นในปี 2558 นั้นมีสภาพการใช้ที่ดินเป็นเกษตรผสมผสาน และสร้างที่อยู่อาศัย
                            2) นาข้าว (A1) จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 758,102 ไร่ โดยมีเนื้อที่ลดลง ในปี พ.ศ. 2558

                  ซึ่งมีเนื้อที่ 729,025 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่ลดลงโดยรวม 29,077 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็น
                  ร้อยละ 3.84 พืชที่มีการลดลงจากพื้นที่นาข้าวนั้น เป็นพื้นที่ปลูกพืชไร่มากที่สุด ถึง 34,861 ไร่ คือ อ้อย
                  โรงงาน มันส าปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รองลงมาเป็นพื้นที่เบ็ดเตล็ด 1,624  ไร่ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และ
                  โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 995 ไร่ และไม้ยืนต้น 634 ไร่ นอกจากนั้นก็จะเป็นพืชสวน ชุมชน ปลูกไม้ผล สถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ตามล าดับ

                            3) พืชไร่ (A2) จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 774,746 ไร่ โดยมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2558
                  ซึ่งมีเนื้อที่ 805,384 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่เพิ่มขึ้นโดยรวม 30,638 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิม
                  เป็นร้อยละ 3.95 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ปลูกจากพืชไร่นั้น ส่วนใหญ่จะมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นมาจาก

                  เนื้อที่การท านาข้าว 34,861 ไร่ รองลงมาเป็นไม้ยืนต้น 10,783 ไร่ เช่น ยูคาลิปตัส ยางพารา และพื้นที่
                  เบ็ดเตล็ด 6,019 ไร่ พื้นที่ปลูกไม้ผล พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ตามล าดับ
                            4) ไม้ยืนต้น (A3) จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 30,397 ไร่ โดยมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2558
                  ซึ่งมีเนื้อที่ 36,027 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่เพิ่มขึ้นโดยรวม 5,630 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็น

                  ร้อยละ 18.52 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ปลูกไม้ยืนต้นนั้น ส่วนใหญ่จะมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจากเนื้อที่พืช
                  ไร่มากที่สุด 15,191 ไร่ เช่น มันส าปะหลัง อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รองลงมาเป็นนาข้าว 634 ไร่
                  พื้นที่เบ็ดเตล็ด 509 ไร่ และ ไม้ยืนต้น ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ตามล าดับ

                            5) ไม้ผล (A4) จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 8,516 ไร่ โดยมีเนื้อที่ลดลง ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่ง
                  มีเนื้อที่ 6,096 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่ลดลงโดยรวม 2,420 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107