Page 103 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 103

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     83






                  28.42 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ปลูกไม้ผลนั้น ส่วนใหญ่จะมีเนื้อที่ลดลงจากเดิมเคยปลูกพืชไร่มากที่สุด

                  2,873 ไร่ เช่น มันส าปะหลัง อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รองลงมาไม้ยืนต้น 177ไร่ นอกจากนี้จะเป็น
                  พื้นที่เบ็ดเตล็ด ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง นาข้าว เกษตรผสมผสาน
                  ตามล าดับ

                            6) พืชสวน (A5) จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 336 ไร่ โดยมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ.2558 ซึ่ง
                  มีเนื้อที่ 503 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่เพิ่มขึ้นโดยรวม 167 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ
                  49.70 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ปลูกพืชสวนนั้นส่วนใหญ่จะเปลี่ยนแปลงเนื้อที่เพิ่มขึ้น เพื่อปลูกพืชไร่มากที่สุด
                  267 ไร่ เช่น มันส าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รองลงมานาข้าว 91 ไร่ เป็นพื้นที่เบ็ดเตล็ด และพื้นที่ป่าไม้ ตามล าดับ
                            7) ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ (A7) จากปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 7,733 ไร่ โดย

                  มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2558 มีเนื้อที่ 12,778 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่เพิ่มขึ้นโดยรวม 5,045 ไร่ หรือคิดร้อยละ
                  การเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ 65.24 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือน
                  เลี้ยงสัตว์นั้น ส่วนใหญ่จะมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นไปเป็นพืชไร่มากที่สุด 4,429 ไร่ เช่น มันส าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                  รองลงมาเป็นนาข้าว 995 ไร่ พื้นที่เบ็ดเตล็ด 1,771 ไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล ตามล าดับ

                            8) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า (A9) จากปี พ.ศ. 2550 โดยมีเนื้อที่ 1,682 ไร่ มีเนื้อที่ลดลง
                  ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งมีเนื้อที่ 1,585 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่ลดลงโดยรวม 97 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของ
                  เนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ 5.77 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า นั้นส่วนใหญ่จะลดลง
                  จากพื้นที่ปลูกไม้ผล 78 ไร่ นาข้าว 57 ไร่ และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 32 ไร่

                        4.3.3 พื้นที่ป่าไม้ (F) ในปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 45,024 ไร่ มีการเปลี่ยนแปลงลดลงในปี พ.ศ. 2558
                  ถึง 39,283 ไร่ มีแนวโน้มลดลงโดยรวม 5,741 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ
                  12.75 ซึ่งส่วนใหญ่พื้นที่ป่าไม้ที่มีการเปลี่ยนแปลง จะมีรายละเอียดดังนี้
                            1) ป่ารอสภาพฟื้นฟู (F0) จากปี พ.ศ. 2550 โดยมีเนื้อที่ 30,789 ไร่ มีเนื้อที่ลดลงในปี

                  พ.ศ. 2558 ซึ่งมีเนื้อที่ 30,284 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่ลดลงโดยรวม 505 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่
                  เดิมเป็นร้อยละ 1.64 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ป่ารอสภาพฟื้นฟูนั้นส่วนใหญ่จะลดลงจากพื้นที่เบ็ดเตล็ด                                           83
                  2,487 ไร่ รองลงมาเป็นพื้นที่ปลูกพืชไร่ 2,068 ไร่ ป่าสมบูรณ์ 458 ไร่ ไม้ยืนต้น นาข้าว และพืชสวนตามล าดับ
                            2) ป่าสมบูรณ์ (F1) จากปี พ.ศ. 2550 โดยมีเนื้อที่ 14,235 ไร่ มีเนื้อที่ลดลงในปี พ.ศ. 2558

                  ซึ่งมีเนื้อที่ 8,999 ไร่ แสดงว่ามีเนื้อที่ลดลงโดยรวม 5,236 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ
                  36.78 พืชที่มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ป่าสมบูรณ์ นั้นส่วนใหญ่จะลดลงจากพื้นที่ป่ารอสภาพฟื้นฟู 4,350 ไร่
                  รองลงมาเป็นพืชไร่ 2,068 ไร่ ป่าสมบูรณ์ 458 ไร่ และไม้ยืนต้น นาข้าว พืชสวน ตามล าดับ

                        4.3.4 พื้นที่น้้า (W) ในปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 42,837 ไร่ มีเนื้อที่ลดลง ในปี พ.ศ. 2558 ถึง 42,824 ไร่
                  มีแนวโน้มลดลงโดยรวม 13 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็นร้อยละ 0.03 ซึ่งมีพื้นที่ลดลงจากการ
                  ที่แหล่งน้ ามีการตื้นเขินเกิดขึ้น
                        4.3.5 พื้นที่เบ็ดเตล็ด (M) ในปี พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ 84,449 ไร่ มีการเปลี่ยนแปลงลดลงในปี

                  พ.ศ. 2558 ถึง 79,228 ไร่ มีแนวโน้มลดลงโดยรวม ถึง 5,221 ไร่ หรือคิดร้อยละการเปลี่ยนของเนื้อที่เดิมเป็น
                  ร้อยละ 6.18 สภาพการใช้ที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงลดลงจากพื้นที่เบ็ดเตล็ดนั้น คือ พืชไร่ 6,019 ไร่ รองลงมา
                  คือนาข้าว 2,767 ไร่ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 1,771 ไร่ ไม้ยืนต้น ป่ารอสภาพฟื้นฟู พื้นที่ชุมชน
                  และสิ่งปลูกสร้าง ไม้ผล พืชสวน ตามล าดับ
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108