Page 38 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        26







                               6) หินยุคครีเทเชียส (Cretaceous ;  K)  มีอายุประมาณ 210-66.4 ลานป  พบตอนกลาง
                       ของจังหวัดอุทัยธานี บริเวณอําเภอสวางอารมณ และอําเภอทัพทัน ประกอบดวย

                                  (1) หินตะกอนยุคครีเทเชียส ประกอบดวยหินตะกอนชนิดตางๆ ไดแก หินทรายอารโคส
                       สีขาวถึงน้ําตาลแกมแดง สลับดวยหินโคลนสีขาวถึงเทาจาง หินทรายกรวดมน และหินปูนกรวดมน

                                  (2) หินอัคนียุคครีเทเชียส ประกอบดวยหินแกรนิตยุคครีเทเชียส (Kgr) มีอายุประมาณ

                       140-66.4  ลานป ประกอบดวยหินแกรนิตสีจางเนื้อปานกลางถึงหยาบ  และหินแอไพลตแกรนิตเนื้อ
                       ละเอียดถึงปานกลาง แทรกดันตัวขึ้นมาผานหินตะกอนและหินแปรที่อยูดานบนซึ่งมีอายุแกกวาหิน

                       ไรโอไลตยุคยุคครีเทเชียส (Krh) ประกอบดวย หินไรโอไลต หินไซอีไนต ขนาดผลึกละเอียดปานกลาง

                       เปนผลึกเนื้อดอก
                               7) ตะกอนยุคควอเทอรนารี ( Quaternary;  Q ) มีอายุระหวาง  1.6-0.01  ลานป เปนยุค

                       สุดทายในตารางธรณีกาล ยุคควอเทอรนารีเปนยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งสภาพภูมิประเทศ
                       ภูมิอากาศ และสิ่งมีชีวิต ธรณีวิทยาของยุคสวนมากจึงเกี่ยวเนื่องกับตะกอนกึ่งแข็งตัวและที่ยังไม

                       แข็งตัวเปนหิน โดยหินที่เกิดมากอนยุคนี้เปนตนกําเนิดและมีการเปลี่ยนแปลงสภาพตามกระบวนการ

                       ทางธรณีวิทยาทั้งการผุพัง การสึกกรอน การพัดพา และการสะสมตัวเกิดเปนแหลงสะสมตะกอนทับถม
                       กันเปนธรณีสัณฐานลักษณะตางๆ ธรณีวิทยายุคควอเทอรนารีของประเทศไทยสวนมากจึงเกี่ยวของ

                       กับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมของพื้นที่เดิม  ลักษณะของตะกอน ลักษณะภูมิประเทศ และ

                       กระบวนการสะสมตัว สามารถจําแนกหนวยตะกอนยอยไดดังนี้
                                  (1) ตะกอนตะพักลําน้ํา (Qt) พบแพรกระจายในตอนกลางดานตะวันตกและตอนใตดาน

                       ตะวันตกเฉียงใตของจังหวัด ลักษณะเปนเนิน  ชั้นตะกอนตอนบนเปนทรายรวนแลวเปลี่ยนสลับดวย
                       ชั้นดินเหนียวลูกรัง  และชั้นดินเหนียวลูกรังปนกรวด  บางบริเวณมีมวลพอกของเหล็กออกไซดและ

                       แมงกานีสปนบาง  แลวเปนชั้นเศษหินแตกหักของหินทราย  ยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน  หินโคลนยุค
                       คารบอนิเฟอรัส-เพอรเมียน และหินทรายสีแดงยุคจูแรสซิก

                                  (2) ตะกอนน้ําพารูปพัด (Qaf) พบแพรกระจายในตอนกลางดานตะวันตก สวนมากเปน

                       ชั้นทรายมากกวาชั้นกรวด ในชั้นทรายบางชั้นมีชั้นกรวดบางๆ แทรก มีชั้นดินเหนียวและชั้นดินแทรก
                       สลับบาง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43