Page 43 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        29







                                  (3) วัตถุตนกําเนิดดินที่เกิดจากวัตถุตกคางและเศษหินเชิงเขาของหินดินดานที่มีทรายปน
                       และ/หรือ หินทรายเนื้อละเอียด (residuum and colluvium from sandy shale and/or fine grain

                       sandstone)
                                  (4) วัตถุตนกําเนิดดินที่เกิดจากวัตถุตกคางและเศษหินเชิงเขาของหินแกรนิต

                       (residuum and colluvium from granite)

                               4) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด ( Alluvial fan ) เปนเนินตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัวของ
                       ตะกอนในบริเวณที่มีการเปลี่ยนระดับของทางน้ําจากหุบเขาชันลงสูที่ราบ ซึ่งจะทําใหความเร็วของ

                       กระแสน้ําลดลงจนไมสามารถนําพาตะกอนบางสวนตอไปได ตะกอนดังกลาวจึงตกสะสมในลักษณะที่
                       แยกกระจายออกไปรอบขางเปนรูปพัด วัตถุตนกําเนิดของดินบริเวณนี้จะเปนตะกอนน้ําพา

                               5) ลานตะพักลําน้ํา (terrace) อยูในตําแหนงที่สูงกวาที่ราบน้ําทวมถึงในปจจุบันเล็กนอย

                       โดยปกติแลวน้ําจากลําน้ําไมทวมถึง วัตถุตนกําเนิดดินบริเวณนี้เปนพวกตะกอนลําน้ําคอนขางใหม
                       (semi-recent alluvium) ซึ่งลําน้ําพัดพามาทับถมไวนานพอสมควรจนกระทั่งกระบวนการเกิดดิน

                       ดําเนินไปบางแลว แตอยูในที่คอนขางต่ําในฤดูฝนจึงถูกน้ําแชขังเปนประจํา

                               6) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนที่ราบหรือคอนขางราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       ในฤดูน้ําหลากน้ําจะไหลลนสองฝงแมน้ําทวมบริเวณดังกลาวและนําตะกอนมาสะสม วัตถุตนกําเนิด

                       ของดินบริเวณนี้จะเปนตะกอนน้ําพามีลักษณะเนื้อละเอียด นอกจากบริเวณสันดินริมน้ําจะมีเนื้อ

                       ละเอียดปานกลาง


                       3.5 แมน้ําและแหลงน้ําที่สําคัญ
                            แมน้ําและแหลงน้ําที่สําคัญของจังหวัดอุทัยธานี แสดงใหเห็นดังภาพที่ 3-5 อธิบายไดดังนี้

                               3.5.1 แมน้ําสะแกกรัง มีตนกําเนิดจากเขาโมโกจูในจังหวัดกําแพงเพชรไหลจากทิศเหนือไป
                       ทิศใตผานอําเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค  ผานอําเภอสวางอารมณ  อําเภอทัพทัน  และอําเภอเมือง

                       อุทัยธานีกอนไปบรรจบกับแมน้ําเจาพระยาที่บานทาซุง ตําบลทาซุง อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี มีความ

                       ยาวประมาณ 225 กิโลเมตร
                               3.5.2 แมน้ําตากแดด คือ แมน้ําสะแกกรังชวงที่ไหลผานเขตอําเภอสวางอารมณ อําเภอทัพทัน

                       และอําเภอเมือง จนถึงปากคลองขุมทรัพย มีความยาวประมาณ 364 กิโลเมตร

                               3.5.3 แมน้ําเจาพระยาไหลมาจากจังหวัดนครสวรรคผานตําบลหาดทนง (เกาะเทโพ)
                       อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี มีความยาวประมาณ 232 กิโลเมตร
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48