Page 42 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        28







                                   (3) ตะกอนน้ําพา (Qa) เปนการสะสมตะกอนแบบตะกอนน้ําพา ซึ่งลักษณะของตะกอน
                       แตละบริเวณจะแตกตางกันไป จะเปนตะกอนทองทรายรองน้ํา สีน้ําตาลปนแดง เม็ดขนาดละเอียด

                       ถึงปานกลาง การคัดขนาดไมดี พบกอนกรวดคอนขางเหลี่ยม กรวดสวนมากเปนควอตซสีขาว บริเวณ
                       ที่ราบน้ําทวมถึงที่ไกลจากแมน้ําจะพบการตกตะกอนของตะกอนขนาดใหญตอเนื่องจนถึงตะกอน

                       ขนาดละเอียด ชั้นลางสุดเปนทรายละเอียดสีขาวปนเขียวเนื้อรวนประกอบดวยตะกอนควอตซเปน

                       สวนมากขนาดของตะกอนจะหยาบมากขึ้นเปนตะกอนทรายขนาดปานกลาง สีเหลืองปนเทา เนื้อปน
                       ดินเหนียวเล็กนอย การคัดขนาดปานกลาง แลวคอยเปลี่ยนชั้นเปนตะกอนดินเหนียว สีน้ําตาล เนื้อปน

                       ทรายเล็กนอย
                            3.4.2 ธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดินที่พบในจังหวัดอุทัยธานี แบงออกไดเปนหมวดหมู

                       ดังนี้

                               1) พื้นที่ภูเขา (Mountainous area) ไดแก บริเวณพื้นที่ที่มีลักษณะเปนภูเขา และมีความ
                       ลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต ซึ่งพื้นที่นี้จะประกอบไปดวย บริเวณพื้นที่ที่เรียกวา ที่ลาดชันเชิงซอน

                       (Slope Complex)

                               2) ภูมิประเทศคาสต  (Karst topography)  เปนพื้นที่หินปูนที่น้ําฝน น้ําทา ชะละลายหิน
                       ออกไปจนเปนตะปุมตะปาเต็มไปดวยหลุมบอและทางน้ําใตดิน ที่น้ําละลายเอาเนื้อหินปูนแทรกซึม

                       หายลงไป พื้นที่แบบนี้จึงมักเปนที่แหงแลง แตตอนปลายธารน้ํามุดดินหายไปหมด วัตถุตนกําเนิดของ

                       ดินที่พบในบริเวณนี้เกิดมาจากวัตถุตกคางและเศษหินเชิงเขาของหินดินดานที่สัมพันธกับหินปูน
                       (Residuum and colluvium from shale in associated with limestone)

                               3) พื้นผิวเหลือจากการกัดกรอนซอยแบง (Dissected erosion surface) เปนสภาพพื้นที่ที่
                       เหลือตกคางจากกระบวนการน้ํากัดเซาะ พื้นที่ภูเขากลายเปนที่คอนขางราบ เมื่อมองแตไกลทําใหมี

                       ความรูสึกวาเปนระนาบของพื้นที่เดียวกัน แตในปจจุบันไดขาดตอนเปนหวงๆ มีลักษณะพื้นที่เปน
                       ลูกคลื่นลอนลาด วัตถุตนกําเนิดของดินที่เกิดอยูในบริเวณนี้มีหลายชนิด ซึ่งพอจะจําแนกออกไดดังนี้

                                  (1) วัตถุตนกําเนิดดินที่เกิดจากวัตถุตกคางและเศษหินเชิงเขาของหินดินดาน หินฟลไลต

                       และหินอื่นๆ ที่มีสมบัติคลายคลึง (Residuum and colluvium from shale, phyllite and other
                       equivalent rocks)

                                  (2) วัตถุตนกําเนิดดินที่เกิดจากวัตถุตกคางและเศษหินเชิงเขาของหินทราย และหิน

                       ควอรตไซต ซึ่งถูกแทรกดวยชั้นของหินดินดาน และหินฟลไลตหรือหินที่คลายคลึง (Residuum and
                       colluvium  from  sandstone  and  quartzite  interbeded  with  shale  and  phyllite  or

                       equivarent rocks)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47