Page 36 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        24







                               3.3.6 บริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา (alluvial plains)  ไดแก  บริเวณสองฝงของแมน้ําสาย
                       หลักและลําน้ําสาขา ซึ่งในชวงฤดูฝนน้ําจากแมน้ําจะไหลบาทวมพื้นที่ดังกลาว วัตถุตนกําเนิดดินเกิด

                       จากตะกอนที่แมน้ําพัดพามาทับถม แบงเปน 2 ลักษณะ ไดแก ลักษณะแรกเปนสันดินริมฝงแมน้ําซึ่ง
                       เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีเนื้อดินละเอียดปานกลางและเปนตะกอนใหม ลักษณะหนาตัดของดินเกิดขึ้น

                       ยังไมดี มักเปนชั้นของตะกอนที่ถูกน้ํา พัดพามาทับถมกันเปนชั้นๆ  ใชเปนพื้นที่ปลูกสรางที่อยูอาศัย

                       และปลูกไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผักตางๆ และอีกลักษณะจะเปนพื้นที่ราบลุม ซึ่งมีลักษณะต่ํากวา
                       สันดินริมฝงแมน้ํา ตะกอนจะมีเนื้อละเอียด เปนพวกดินเหนียว พื้นที่สวนนี้ใชในการทํานา พื้นที่บริเวณ

                       นี้อยูสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 18-20 เมตร


                       3.4 ธรณีวิทยาและธรณีสัณฐาน

                            3.4.1 ธรณีวิทยาเปนปจจัยควบคุมการเกิดดินที่สําคัญและมองเห็นไดคอนขางชัดเจนที่สุด มี
                       อิทธิพลตอองคประกอบของดิน เชน สีดิน เนื้อดิน โครงสรางดิน และสมบัติทางเคมีของดิน จากขอมูล

                       แผนที่ธรณีวิทยา (กรมทรัพยากรธรณี, 2550) พบวา ลักษณะทางธรณีวิทยาของบริเวณที่ทําการศึกษา

                       ในจังหวัดอุทัยธานี แบงออกไดดังนี้ (ภาพที่ 3-4)
                               1) หินมหายุคพรีแคมเบรียน (Precambrian; PE) มีอายุมากกวา 570 ลานป  ในพื้นที่นี้

                       เรียกวา หมวดหินลานสางไนส โดยหมวดหินดังกลาว พบกระจายตัวบริเวณดานตะวันตกและ

                       ตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่ พื้นที่ตนน้ําหวยขาแขง หวยเสลา บริเวณแนวเทือกเขาถนนธงชัยซึ่งตอ
                       เนื่องมาจากน้ําตกลานสาง จังหวัดตากและจังหวัดนครสวรรค ประกอบดวยหินแปรเกรดสูง เชน

                       หินควอตซโชเฟลดสปาติกไนส หินพาราไนส หินไบโอไทตไนส หินควอตซไมกาชีสต และ หินชีสต
                       บางบริเวณพบหินไนสที่แปรสภาพมาจากหินแกรนิต

                               2) หินยุคออรโดวิเชียน (Ordovician;  O) มีอายุระหวาง 505-438 ลานป เปนหินแปรอีก
                       ชนิดหนึ่ง ที่พบลักษณะสวนใหญไดถูกแรงทับถมกันเปนชั้น โดยทั่วไปแลวเปนพวกที่ไมมีความสัมพันธ

                       ระหวางชั้น ไดแก หินชุดทุงสง หินพวกนี้สวนใหญพบบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใตของพื้นที่ และกระจัด

                       กระจายอยูบางทางตอนกลางเปนแนวไปทางทิศใตของจังหวัดอุทัยธานี
                               3) หินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน-คารบอนิเฟอรัส (Silurian Devonian / Silurian Devonian

                       Carboniferous / Carboniferous; SD/SDC/C) มีอายุระหวาง 410-286 ลานป ประกอบดวย หิน

                       ตะกอนพวกหินดินดาน หินโคลนเนื้อซิลิกา หินทราย และหินดินดานเนื้อปนถาน มีซากดึกดําบรรพ
                       พวกตะคูไลต ไทรโลไปต พบบริเวณอําเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี เรียกวา หินแหลงบานไร (Ban Rai

                       Formation) หินที่พบแตกตางกันออกไปหลายชนิด ไมเปนไปตามขั้นตอน หินพวกนี้สวนใหญจะพบ

                       บริเวณแนวทิศตะวันตกของพื้นที่ที่มีระดับสูงมากๆ และมีแนวแพรกระจายครอบคลุม สวนดานทิศใต
                       และบริเวณตอนกลางบางสวนมีอายุอยูในยุคดีโวเนียนและไซลูเรียน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41