Page 37 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        25







                               หินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน ของจังหวัดอุทัยธานี (360-438 ลานป) เรียกวา กลุมหินทองผาภูมิ
                       ( SDCtp ) พบบริเวณอําเภอทองผาภูมิและอําเภอสังขละบุรี ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัด

                       กาญจนบุรี  สําหรับจังหวัดอุทัยธานีพบชั้นหินดังกลาวแผกระจายตัวคอนขางกวางบริเวณดานทิศ
                       ตะวันตก  ทิศใต และทิศตะวันออกของจังหวัด  ในอําเภอสวางอารมณ  อําเภอทัพทัน  อําเภอบานไร

                       อําเภอหวยคต  และเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง  โดยชั้นหินนี้วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-

                       ตะวันออกเฉียงใต และเหนือ-ใต ลักษณะหินประกอบดวยหินทรายแทรกสลับหินปูนเนื้อดิน และ
                       หินปูนเลนส  ถัดขึ้นมาเปนหินดินดานสลับหินเชิรต และหินดินดานเนื้อซิลิกา  สีเทาดํา- น้ําตาลออน

                       ชั้นหินบาง  บางบริเวณมีการแปรสภาพระดับต่ํา จากการศึกษาซากดึกดําบรรพทั้งหมด พบวากลุม
                       หินทองผาภูมินาจะมีการสะสมตัวในทะเลตั้งแตยุคออรโดวิเชียนตอนปลายถึงยุคคารบอนิเฟอรัส

                       ( 286 - 461 ลานป ) ที่เรียกวากลุมหินตะนาวศรี ( SDCtn ) ประกอบดวยหินเกรยแวก หินทรายแปง

                       หินโคลน หินดินดาน หินโคลนปนกรวด หินปูน และบางแหงเปนหินชนวน
                               4) หินยุคเพอรเมียน  (Permain;  P)  มีอายุระหวาง 286-245 ลานป เปนหินยุคเพอรเมียน

                       ชวงกลาง ประกอบดวย หินปูน หินดินดาน หินเชิรต บางแหงมีหินบะซอลตรูปหมอนและเซอรเพนทิไนต

                       ปะปนรวมดวย หินปูนยุคนี้ เรียกกันทั่วไปวา กลุมหินราชบุรี (Pr) พบเพียงเล็กนอยเปนภูเขาโดดที่
                       ดันตัวขึ้นมาแทรกบริเวณหินโคลน ในยุคไทรแอสซิกตอนบน พบบริเวณตอนกลางของพื้นที่ เยื้องมา

                       ทางทิศตะวันออก ลักษณะเปนแนวเรียงตัวจากดานเหนือเปนกลุมๆ สูดานทิศใต เชน บริเวณผาแรด

                       เขาปลารา และเขาชองลม เปนตน
                               5) หินยุคไทรแอสซิก (Triassic;  Tr) มีอายุระหวาง 245-210  ลานป พบทางทิศตะวันตก

                       ของจังหวัดอุทัยธานีบริเวณอําเภอบานไรและอําเภอลานสัก สวนใหญจะเปนหินยุคไทรแอสซิก
                       ตอนบน ประกอบดวย หินโคลนเนื้อซิลิกา หินทราย หินดินดานสีเทาดํา-เทาอมเขียว พบซากดึกดําบรรพ

                       นอกจากนั้นจะเปนหินภูเขาไฟ ชนิดแอนดีไซต เนื้อแนนแข็ง สีเทาเขียว หินยุคนี้เรียกกันทั่วไปวา
                       กลุมหินลําปาง (Lampang group) จําแนกตามชนิดของกลุมหินไดดังนี้

                                  (1) หนวยหินปูน (Trl) กระจายตัวกวางขวางโดยชั้นหินนี้วางตัวตอเนื่องกับหนวยหินทราย

                       และหินโคลนยุคไทรแอสซิก (Trss) และชั้นหินวางตัวในแนวเดียวกันคือ ตะวันตกเฉียงเหนือ -
                       ตะวันออกเฉียงใต ประกอบดวยหินปูนสีเทา เนื้อปนดิน มีทั้งแสดงชั้นหินและไมแสดงชั้นหิน บางแหง

                       อาจจะเปนหินโดโลไมตและมีการแปรสภาพบาง นอกจากนี้ยังพบชั้นหินโคลนและหินทรายชั้นบางๆ

                       แทรกสลับชั้นดวย
                                  (2) หินอัคนีแทรกซอนยุคไทรแอสซิก (Trgr) ประกอบดวย หินไนสิกแกรนิต ไบโอไทตแกรนิต

                       แกรโนไดโอไรด ไบโอไทตมัสโคไวตแกรนิต มัสโคไวตทัวมาลีนแกรนิต และไบโอไทตทัวมาลีนแกรนิต
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42