Page 32 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        22







                       3.3 ลักษณะภูมิประเทศ
                            สภาพพื้นที่โดยทั่วไปจะเปนภูเขาสูง และลาดเทจากทิศตะวันตกต่ําลงมาทางทิศตะวันออก

                       โดยทางทิศตะวันตกจะเปนเทือกเขาสลับซับซอน ตอนกลางของจังหวัดเปนที่ลาดเชิงเขาและที่ดอน
                       ลูกคลื่นลอนลาดสลับกับเนินเขาเตี้ยๆ สวนทางดานตะวันออกของจังหวัดสวนใหญเปนที่ราบลุม

                       ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดแบงไดดังนี้ (กองสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2559) (ภาพที่ 3-3)

                               3.3.1 บริเวณเนินเขาและภูเขา (hills and mountains) เปนลักษณะภูมิประเทศที่มีความ
                       ลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต ประกอบไปดวยเขาและภูเขาที่สลับซับซอนจํานวนมาก โดยเนินเขา

                       (hills) เปนพื้นที่ที่มีความสูงตั้งแต 100-600 เมตร จากบริเวณพื้นที่โดยรอบและภูเขา (mountains)
                       เปนพื้นที่ที่มีความสูงตั้งแต 600 เมตร ขึ้นไปจากบริเวณพื้นที่โดยรอบ (คณาจารยภาคปฐพีวิทยา, 2548)

                       ครอบคลุมเนื้อที่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดอยูแถบตะวันตกของอําเภอบานไรและอําเภอลานสัก

                       เทือกเขานี้เปนสวนหนึ่งของเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งเปนทิวเขาที่แบงเขตแดนประเทศไทยกับสาธารณรัฐ
                       แหงสหภาพเมียนมาร

                               3.3.2 บริเวณเชิงเขา (foothill slope) เปนลักษณะภูมิประเทศที่ลาดเทตอเนื่องจากภูเขา

                       หรือเทือกเขามีความลาดชันนอยกวา 35 เปอรเซ็นต พื้นที่บริเวณเหลานี้มักจะมีลําหวยเล็กๆ ซึ่งมี
                       ตนน้ํามาจากภูเขาตัดผาน ทําใหมีลักษณะภูมิประเทศเปนแบบลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน

                       พบทางดานตะวันตกของอําเภอบานไรและอําเภอลานสัก

                               3.3.3 บริเวณพื้นผิวที่เหลือคางจากการกรอน (erosion surface) เปนบริเวณที่มีสภาพ
                       พื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชันเปนสวนใหญ มีความลาดชันประมาณ 8-16 เปอรเซ็นต พบบริเวณ

                       ตอนกลางคอนไปทางทิศตะวันตกของอําเภอบานไรและอําเภอลานสัก อยูสูงจากระดับน้ําทะเล
                       ประมาณ 130-200 เมตร พื้นที่บริเวณนี้สวนใหญยังคงเปนปาตามธรรมชาติ แตบางแหงถูกหักลาง

                       ถางพงเพื่อทําการเกษตร
                               3.3.4 บริเวณตะพักลําน้ําระดับกลางถึงระดับสูงและเนินตะกอนน้ําพารูปพัด (middle  to

                       high terrace and alluvial fans) เปนบริเวณที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยจนถึง

                       ลูกคลื่นลอนชัน แตสวนใหญมีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชันประมาณ 5-12 เปอรเซ็นต
                       พบบริเวณดานทิศตะวันตกของอําเภอทัพทัน อําเภอสวางอารมณ อําเภอหนองฉาง รวมทั้งบริเวณ

                       ดานตะวันออกของอําเภอบานไร และอําเภอลานสัก อยูสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 70-130 เมตร

                       พื้นที่บริเวณนี้สวนใหญใชทําการเกษตร
                               3.3.5 บริเวณตะพักลําน้ําระดับต่ํา (low terrace) เปนบริเวณที่มีสภาพภูมิประเทศเปน

                       ที่ราบหรือคอนขางราบเรียบ มีความลาดชันนอยกวา 2 เปอรเซ็นต พบบริเวณอําเภอหนองขาหยาง

                       อําเภอหนองฉาง และอําเภอทัพทัน รวมทั้งบริเวณดานทิศตะวันออกและทิศใตของอําเภอสวางอารมณ
                       อยูสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 20-70 เมตร พื้นที่บริเวณนี้มีแหลงน้ําไหลผาน โดยทั่วไปใชทํานา
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37