Page 11 - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจทรัพยากรดินในพื้นที่สูงบริเวณลุ่มน้ำสาขา น้ำแม่ต้า (ลุ่มน้ำยม)
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                           ix




                                                          สารบัญภาพ (ต่อ)

                                                                                                         หน้า

                   ภาพที่ 23 ผลจากการซ้อนทับชั้นข้อมูลด้วยโปรแกรม GIS ได้แก่ แผนที่ดินมาตราส่วน 1:100,000 (ก)  57

                            และ 1:25,000 (ข) แผนที่ธรณีวิทยา (ค) และแผนที่ความลาดชัน (ง) บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า

                   ภาพที่ 24 ขอบเขตหน่วยแผนที่ต้นร่างที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลภาพด้วยโปรแกรม       58

                            ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า

                   ภาพที่ 25 การกําหนดแนวจุดศึกษาดินตามหน่วยแผนที่ที่ได้กําหนดขึ้นเบื้องต้น บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า  58
                   ภาพที่ 26 รูปแบบตารางค่าพิกัดและรายละเอียดหลุมเจาะดินในภาคสนาม                          59

                   ภาพที่ 27 การใช้คําสั่ง Add XY Data… เพื่อนําเข้าข้อมูลพิกัด XY                         60

                   ภาพที่ 28 การใช้คําสั่ง Export Data… เพื่อสร้างชั้นข้อมูลแบบจุด โดยมีพิกัด XY จากข้อมูลหลุมเจาะดิน  60

                   ภาพที่ 29 ชั้นข้อมูลแบบจุดและตารางข้อมูลที่เกี่ยวข้องของหลุมเจาะดินที่ได้จากการนําเข้าข้อมูล  61
                   ภาพที่ 30 แผนที่สามมิติที่เกิดจากการซ้อนทับกัน (overlay) ของชั้นข้อมูล ได้แก่ เส้นชั้นความสูง (contour)   62

                            ความลาดชัน (slope) และการตกกระทบของแสง (hillshade) บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า

                   ภาพที่ 31 เปรียบเทียบเส้นขอบเขตแผนที่ดินที่ได้จากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์  63

                            กับแผนที่มาตราส่วนต่างๆ ในอดีต บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า

                   ภาพที่ 32 แผนที่ชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า           68
                   ภาพที่ 33 ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพพื้นที่ ธรณีสัณฐาน และชุดดินที่พบบริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า  98

                   ภาพที่ 34 สภาพพื้นที่และหน้าตัดดินของดินตัวแทนบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า      100

                   ภาพที่ 35 ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกกระจายของอนุภาคในแต่ละชั้นดินกับความลึกของดิน       102

                   ภาพที่ 36 ความสัมพันธ์ระหว่างอนุภาคขนาดทราย (ก) อนุภาคขนาดทรายแป้ง (ข)                 103

                            และอนุภาคขนาดดินเหนียว (ค) กับความลึกของดิน
                   ภาพที่ 37 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่นรวมกับความลึกของดิน                            104

                   ภาพที่ 38 ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาดินที่วัดในน้ํา (ก) ในสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ (ข)  105

                            กับความลึกของดิน

                   ภาพที่ 39 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณอินทรียวัตถุในดินกับความลึกของดิน                   106

                   ภาพที่ 40 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (ก) ปริมาณโพแทสเซียม        107
                            ที่เป็นประโยชน์ (ข) กับความลึกของดิน

                   ภาพที่ 41 ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นกรดที่สกัดได้ (ก) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (ข)    108

                            และอัตราร้อยละความอิ่มตัวเบส (ค) กับความลึกของดิน

                   ภาพที่ 42 แผนที่เขตพื้นที่ศักยภาพ (potential area) บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า        127
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16