Page 84 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               76







                                        (5)  ยางพารา มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 1,176 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 4,317 ไร่ ใน
                       พ.ศ.  2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 3,141 ไร่ หรือร้อยละ 267.09 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง
                       เพิ่มขึ้น มาจากพื้นที่นามากที่สุด 1,198 ไร่ รองลงมา ข้าวโพด 613 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอดงเจริญ
                       และอ้อย 304 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอบึงนาราง ตามล าดับ

                                        (6)  มะม่วง มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 26,626 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 35,763 ไร่ ใน
                       พ.ศ.2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 9,137 ไร่ หรือร้อยละ 34.32 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น
                       มาจากพื้นที่นามากที่สุด 5,108 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอสากเหล็ก รองลงมา ยูคาลิปตัส 1,515 ไร่
                       พบมากบริเวณอ าเภอวังทรายพูน และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ทุ่งหญ้าธรรมชาติทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/

                       ไม้ละเมาะ และบ่อลูกรัง 1,318 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอสากเหล็ก ตามล าดับ
                                        (7)  กล้วย มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก  9,388 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น  26,092 ไร่ ใน
                       พ.ศ.2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 16,704 ไร่ หรือร้อยละ 177.93 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น
                       มาจากพื้นที่นามากที่สุด 6,137  ไร่ รองลงมา อ้อย 4,823  ไร่ และข้าวโพด 3,677  ไร่ ตามล าดับ โดยการ

                       เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นา อ้อย และข้าวโพด พบมากบริเวณอ าเภอบึงนาราง
                                        (8)  มะนาว มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 11,544 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 13,477 ไร่ ใน
                       พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 1,903 ไร่ หรือร้อยละ 16.48 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น

                       มาจากพื้นที่นามากที่สุด 1,893 ไร่ รองลงมา พื้นที่ป่า 189 ไร่ และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ทุ่งหญ้าสลับ
                       ไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ 173 ไร่ ตามล าดับ โดยการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นา พื้นที่ป่า และพื้นที่เบ็ดเตล็ด
                       พบมากบริเวณอ าเภอโพทะเล
                                        (9)  พื้นที่เกษตรกรรมอื่น ๆ ได้แก่ พืชสวน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์
                       พืชน้ า สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 9,174  ไร่

                       ใน พ.ศ. 2556 เป็น 13,531ไร่ ใน พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 4,357 ไร่ หรือร้อยละ 47.49 ของ
                       เนื้อที่เดิม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นมาจากพื้นที่นามากที่สุด 3,115 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอสามง่าม
                       รองลงมา ข้าวโพด 587 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอบึงนาราง และไม้ผลอื่น ๆ 524 ไร่ พบมากบริเวณ

                       อ าเภอเมืองพิจิตร ตามล าดับ
                                        (10)  พื้นที่น้ า มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 73,131 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 76,637 ไร่
                       ใน พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 3,506 ไร่ หรือร้อยละ 4.79 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น
                       มาจากพื้นที่นามากที่สุด 2,731 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอวชิรบารมี รองลงมา พื้นที่เบ็ดเตล็ด 371 ไร่

                       พบมากบริเวณอ าเภอทับคล้อ และข้าวโพด 123 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอโพธิ์ประทับช้าง ตามล าดับ
                            5.1.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจังหวัดพิจิตร สามารถจ าแนกออกได้เป็น
                       3 กลุ่มปัจจัย ได้แก่
                                  1)    ปัจจัยทางด้านนโยบาย ได้แก่

                                        ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ส่งผลให้จังหวัดพิจิตรมีการพัฒนาด้านต่าง ๆ แต่เนื่อง
                       จากจังหวัดพิจิตรไม่มีพื้นที่จะสามารถขยายพื้นที่เกษตรกรรมได้มากนัก ท าให้พื้นที่เกษตรกรรมมีเพิ่มขึ้น
                       ไม่มากนัก ดังนั้นแผนพัฒนาจังหวัดจึงมุ่งเน้นไปทางด้านเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรที่มี
                       คุณภาพและให้ผลตอบแทนสูง ขณะที่พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างและแหล่งน้ าเพิ่มมากขึ้น โดยเปลี่ยน

                       มาจากพื้นที่นาและพื้นที่เบ็ดเตล็ดมากที่สุด
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89