Page 22 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                       ตารางที่ 2 วัตถุต้นก าเนิดดินในระบอบความชื้นดินยูดิก

                       1. วัตถุต้นก าเนิดดินที่เคลื่อนย้ายมาทับถมโดยอิทธิพลของพาหะธรณี


                         1.1 ตะกอนชายหาดและเนินทราย

                         1.2 ตะกอนน้ าพาในบริเวณสันดินริมน้ าและตะพักลุ่มน้ า

                         1.3 ตะกอนน้ าพาท้องถิ่นที่แสดงให้เห็นแหล่งที่มาของตะกอน


                              1.3.1 ตะกอนจากหินดินดานและหินที่มีลักษณะคล้ายคลึง

                              1.3.2 ตะกอนจากหินทรายและหินที่คล้ายคลึง


                              1.3.3 ตะกอนกรวดและหินกรวดต่าง ๆ

                              1.3.4 ตะกอนจากหินแกรนิต

                              1.3.5 ตะกอนผสมจากหินควอร์ตไซต์และแกรนิต


                              1.3.6 ตะกอนน้ าพาจากหินทรายที่สัมพันธ์กับหินปูน และหินดินดาน

                       2. วัตถุต้นก าเนิดดินที่เป็นวัสดุตกค้างและที่เคลื่อนย้ายมาทับถมโดยอิทธิพลแรงโน้มถ่วงของโลก

                       (ตะกอนดาดเชิงเขา) ซึ่งมาจาก

                         2.1 หินตะกอนเนื้อละเอียด ปานกลาง และเนื้อหยาบ


                         2.2 หินแกรนิต

                         2.3 ของผสมจากหินไนซ์ แกรนิต และหินทรายแป้ง

                         2.4 หินดินดานที่มีความสัมพันธ์กับหินปูน


                       ที่มา : เอิบ (2533)


                               3.3  วัตถุต้นก าเนิดดินในระบอบความชื้นดินอัสติก

                               พบในดินที่ดอนส่วนใหญ่ของประเทศไทย วัตถุต้นก าเนิดดินประกอบด้วยวัสดุดินที่

                       เคลื่อนย้ายมาทับถมโดยพาหะธรณี วัสดุตกค้าง และวัสดุที่เคลื่อนย้ายมาทับถมโดยอิทธิพลของแรง
                       โน้มถ่วงของโลก และมีความสัมพันธ์กับสัณฐานภูมิประเทศต่างๆ เช่นเดียวกัน คือ บริเวณที่มีธารน้ า

                       ไหล สันดินริมน้ า และบริเวณตะพักลุ่มน้ าต่างๆ วัตถุต้นก าเนิดดินจะเป็นตะกอนน้ าพาเป็นส่วนใหญ่

                       ในบริเวณที่สูงขึ้นไป วัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพาท้องถิ่น ที่แสดงให้เห็นถึงที่มาของตะกอน
                       ชัดเจน และดินที่พบในบริเวณนี้จะมีความสัมพันธ์กับวัตถุต้นก าเนิดดินเหล่านี้อย่างชัดเจน ในบริเวณที่

                       สูงที่เป็นไหล่เนิน หรือไหล่เขา วัตถุต้นก าเนิดดินส่วนใหญ่เป็นวัสดุตกค้างและตะกอนดาดเชิงเขาที่มา





                                                                                                         9
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27