Page 21 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       13



                              2. อิทธิพลของเกลือที่ละลายน้ าได้  ค่าพีเอชของ soil suspension  จะลดลงถ้ามีปริมาณ
                       เกลือที่ละลายได้เพิ่มขึ้น  โดยปกติแล้วพีเอชของดินจะต่ าในฤดูแล้งและมีค่าสูงในฤดูฝน ทั้งนี้เนื่องจาก

                       มีการสะสมเกลือที่ละลายได้ในฤดูแล้ง  และเนื่องจากมีการชะล้างเกิดขึ้นในฤดูฝน  ดังนั้น เพื่อที่จะ
                       แก้ปัญหานี้จึงมีผู้ใช้  1 N  KCl  วัดพีเอชแทนที่จะใช้น้ า  ต่อมา Schofield และ Taylor (1955) (อ้าง
                       โดยจงรักษ์, 2541) ได้แนะน าให้ใช้  0.01 M  CaCl2  อัตราส่วนดินต่อน้ ายา CaCl2 เท่ากับ 1:2  ซึ่งมี
                       ข้อดีหลายอย่าง คือแก้ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนของดินต่อน้ าและอิทธิพลของเกลือได้  นอกจากนี้ยัง

                       ท าให้ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจาก liquid junction potential ลดลงได้  ค่าพีเอชที่วัดได้โดยใช้  0.01
                       M  CaCl2  จะต่ ากว่าค่าที่วัดได้โดยใช้น้ าประมาณ 0.5 หน่วยพีเอช
                              3. อิทธิพลของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)  มีผลท าให้พีเอชของดินลดลง  แต่อิทธิพลนี้
                       จะมีน้อยมากในดินที่มีพีเอชต่ ากว่า 7.0  ในดินเนื้อปูน (calcareous soil)  ค่าพีเอชจะเปลี่ยนไปตาม

                       ปริมาณ  CO2  ดังนั้นในการวัดพีเอชของดินเนื้อปูน  จึงนิยมท ากันหลังจาก  equilibrate  ดินกับ  CO2
                       ในบรรยากาศแล้ว

                                   อุปกรณ์และเครื่องมือ
                                     1. เครื่อง pH meter
                                     2. บีกเกอร์ (beaker) ขนาด 50 mL

                                     3. แท่งแก้ว (stiring rod)
                                     4. กระบอกตวง (cylinder) ขนาด 10 mL
                                     5. ขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 1 L
                                   สำรเคมีและกำรเตรียมสำรละลำย

                                     1. สารละลายบัฟเฟอร์มาตรฐาน  pH 4
                                     2. สารละลายบัฟเฟอร์มาตรฐาน  pH 7
                                     3. สารละลายบัฟเฟอร์มาตรฐาน  pH 10

                                     4. สารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) เข้มข้น 1 N
                                        ชั่งสารโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) 74.56 g ละลายในน้ ากลั่น แล้วปรับปริมาตร

                       ด้วยน้ ากลั่นในขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 1 L
                                     5. สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) เข้มข้น 0.01 M

                                        ชั่งสารแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) 1.4703 g ละลายในน้ ากลั่น แล้วปรับปริมาตร
                       ด้วยน้ ากลั่นในขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 1 L

                              3.1.1 วิธีอัตรำส่วนดินต่อน  ำ เท่ำกับ 1 : 1 (peech, 1965)

                                     เป็นการวัดเพื่อต้องการทราบว่าดินมีพีเอชเป็นกรดหรือเป็นด่าง สัดส่วนของดินต่อ

                       น้ าจะแตกต่างกัน ตั้งแต่อัตราส่วน 1:1 1:2 1:2.5 1:5 ผู้วัดจะเลือกใช้อัตราใดก็ได้ ซึ่งอัตราส่วนที่
                       ต่างกันจะมีผลต่อค่าพีเอชที่วัดได้ โดยทั่วไปห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่มักใช้อัตราส่วน 1:1 หรือ 1:2
                       ส าหรับห้องปฏิบัติการส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ใช้อัตราส่วน 1 : 1

                                     วิธีกำร
                                     1. ชั่งตัวอย่างดิน 10 g ใส่ลงในบีกเกอร์ ขนาด 50 mL
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26