Page 35 - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document)
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2-21
4.10) Delphi 2006
4.11) SharpDevelop (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2558ก)
5) ความสามารถของ ASP.NET
5.1) ASP.NET ได้น าเอาเทคโนโลยี .NET Framework เข้ามาใช้ จึงสามารถใช้แอปพิเค
ชันร่วมกับฮาร์ดแวร์ใด ๆ ก็ได้ เช่น คอมพิวเตอร์ ปาล์ม พีดีเอ โน๊ตบุ๊ค และโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
5.2) ท าให้เว็บเพจที่พัฒนาขึ้นด้วยเทคโนโลยี ASP.NET อยู่ในรูปแบบของ Web Form
ที่ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของแท็กต่าง ๆ ที่ใช้แสดงผล และส่วนของโปรแกรมที่ใช้ประมวลผล เพื่อ
ควบคุมส่วนต่างๆ ของจอภาพซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม เช่น Visual Basic
และ C++ เป็นต้น
5.3) สามารถใช้ร่วมกับ Web Browser ได้ทุกประเภท เนื่องจากค าสั่งต่างๆ ที่ก าหนด
ขึ้นใน Web Form จะถูกแปลงเป็นแท็ก HTML ที่เหมาะสม กับ Web Browser ซึ่งแตกต่างจาก ASP ในรูป
แบบเดิมที่บางค าสั่งใช้งานไม่ได้ในบาง Web Browser
5.4) รองรับการท างานร่วมกับโปรแกรม ที่พัฒนาขึ้นจากภาษาที่ใช้เทคโนโลยี .NET เช่น
VB.NET และ C#.NET เป็นต้น
5.5) แยกส่วนโปรแกรมและค าสั่งที่ใช้สร้างจอภาพออกจากกัน จึงช่วยให้โครงสร้างแบบ
“Spaghetti Code” (โปรแกรมที่เขียนไม่เป็นระเบียบ หรือไม่มีหลักเกณฑ์) ที่พบใน ASP หมดไป
6) .NET Framework
ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก (.NET Framework) คือ แพลตฟอร์มส าหรับพัฒนาซอฟต์แวร์สร้าง
ขึ้นโดยไมโครซอฟท์ โดยรองรับภาษาดอตเน็ตมากกว่า 40 ภาษาซึ่งมีไลบรารีเป็นจ านวนมากส าหรับการเขียน
โปรแกรม รวมถึงบริหารการด าเนินการของโปรแกรมบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก โดยไลบรารีนั้นได้รวมถึงส่วนต่อ
ประสานกับผู้ใช้ การเชื่อมต่อฐานข้อมูล วิทยาการเข้ารหัสลับ ขั้นตอนวิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
และการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน
โปรแกรมที่เขียนบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก จะท างานบนสภาพแวดล้อมที่บริหารโดย
Common Language Runtime (CLR) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก โดย CLR นั้นเตรียมสภาพ
แวดล้อมเสมือน ท าให้ผู้พัฒนาไม่ต้องค านึงถึงความสามารถที่แตกต่างระหว่างหน่วยประมวลผลต่างๆ และ
CLR ยังให้บริการด้านกลไกระบบความปลอดภัย การบริหารหน่วยความจ า และ Exception handling
ดอตเน็ตเฟรมเวิร์กนั้นออกแบบมาเพื่อให้การพัฒนาซอฟต์แวร์ง่ายขึ้น รวดเร็วขึ้น และปลอดภัยขึ้นกว่าเดิม
(วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2558ข)
2.5.3 ภาษา SQL (Structure Query Language)
ชไลเวท พิพัฒพรรณวงศ์ (2557) กล่าวว่า SQL มาจากค าว่า Structured Query Language
เป็นภาษามาตรฐานในการเข้าถึงฐานข้อมูล เราสามารถใช้งานภาษา SQL ได้จากโปรแกรมต่างๆ ที่ต้องท าการ
กับระบบฐานข้อมูล เช่น ใช้ SQL ในการท าการดึงข้อมูล (Retrieve Data) จากฐานข้อมูล และเป็นมาตรฐาน
กลางที่ใช้ในระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ โดยเป็นมาตรฐานของ ANSI (American National Standard Institute)