Page 31 - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document)
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2-17
6) ขั้นตอนที่ 6 : การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Selection) การเลือกระบบ
จัดการฐานข้อมูลเพื่อจัดการฐานข้อมูลมีความส าคัญอย่างยิ่ง จะต้องท าการประเมินข้อดีและข้อด้อยของระบบ
จัดการฐานข้อมูลในประเด็นต่อไปนี้
6.1) เงินลงทุนและค่าใช้จ่าย เช่น เงินลงทุนในฮาร์ดแวร์ ค่าบ ารุงรักษา ค่าใช้จ่าย ใน
การอบรม และค่าใช้จ่ายในการน าระบบใหม่ไปใช้
6.2) คุณสมบัติการท างานของระบบจัดการฐานข้อมูลและกลไกการท างานต่าง ๆ เช่น
การจัดการรายการ (Transaction Management) การกู้ (Recovery) การเกิดภาวะพร้อมกัน (Concurrency)
การรักษาความปลอดภัย
6.3) โมเดลที่ระบบจัดการฐานข้อมูลเลือกใช้ ซึ่งจะมีผลต่อการจัดการฐานข้อมูล เช่น
แบบเชิงสัมพันธ์ (Relational) แบบเครือข่าย (Network) อ๊อปเจ็กท์เชิงสัมพันธ์ (Object Relational)
6.4) ความสามารถในการท างานร่วมกับระบบอื่น ๆ หรือสามารถท างานร่วมกับระบบ
ปฏิบัติการได้หลายรูปแบบ (Platform) เช่น UNIX WindowsNT
6.5) คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์ที่ระบบจัดการฐานข้อมูลนั้นต้องการ (Hardware
Requirement)
6.6) การสนับสนุนจากผู้ขาย เป็นสิ่งจ าเป็นมาก โดยเฉพาะองค์กรที่เริ่มพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลและยังไม่มีบุคลากรที่เข้าใจในระบบจัดการฐานข้อมูลที่ใช้
7) ขั้นตอนที่ 7 : การทดสอบและน าระบบไปใช้ (Implementation) ขั้นตอนนี้เกี่ยวข้องกับ
การทดสอบและการน าระบบฐานข้อมูลที่ออกแบบไปใช้ ซึ่งมีลักษณะของการน าระบบไปใช้ได้หลายรูปแบบ
เช่น แบบคู่ขนานระหว่างระบบเก่าและใหม่ (Parallel)
8) ขั้นตอนที่ 8 : การบ ารุงรักษา (Maintenance) ขั้นตอนนี้มีความส าคัญมากเช่นกัน ในการ
ที่รักษาฐานข้อมูลของการส ารองข้อมูล (Backup) และบ ารุงรักษาระบบฐานข้อมูล (ศิริลักษณ์ โรจนกิจอ านวย,
2552)
สรุปได้ว่า การพัฒนาฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผน ก าหนดขอบเขต และวิเคราะห์ความ
ต้องการ เพื่อน ามาออกแบบฐานข้อมูลทั้งในระดับแนวคิด ระดับตรรกะ และระดับกายภาพ นอกจากนี้การ
พัฒนาฐานข้อมูลยังมีความสัมพันธ์กับระบบจัดการฐานข้อมูลที่เลือกใช้ ระบบประยุกต์ใช้งานที่จะพัฒนาว่ามี
ขั้นตอนและรายละเอียดอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบฐานข้อมูล ตลอดจนการทดสอบและน าระบบที่
ออกแบบไปใช้ รวมถึงบ ารุงรักษาระบบฐานข้อมูลให้ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5 ภาษาคอมพิวเตอร์
2.5.1 ภาษา HTML
HTML ย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
ที่มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวก ากับ (Tag) ควบคุมการแสดงผลข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุอื่น ๆ ผ่าน
โปรแกรมเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute ส าหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผล
ของเว็บได้ด้วย HTML เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย World Wide Web Consortium (W3C) จากแม่แบบของ
ภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language) โดยตัดความสามารถบางส่วนออกไป เพื่อให้
สามารถท าความเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย และด้วยประเด็นดังกล่าว ท าให้บริการ www เติบโตขยายตัวอย่าง
กว้างขวาง