Page 41 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        30






                                     ผลการวิเคราะห์ดินหลังการทดลอง  พบวํา  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้นทุกต ารับ
                       การทดลอง  โดยปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีคําอยูํในระดับต่ ามากถึงต่ า (ร๎อยละ 0.90 - 1.50)  โดยต ารับ

                       การทดลองที่ 1 (วิธีการใช๎ปุ๋ยของเกษตรกร)  มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงสุดร๎อยละ 1.50  รองลงมา  คือ

                       ต ารับการทดลองที่ 4  (วิธีการใช๎ปุ๋ยตามค าแนะน าโปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลงรํวมกับ
                       น้ าหมักชีวภาพ)  มีปริมาณอินทรียวัตถุร๎อยละ 1.20   และต ารับการทดลองที่ 2  (วิธีการใช๎ปุ๋ยของ

                       เกษตรกรรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ)  มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ าสุดร๎อยละ 0.90  การที่ปริมาณอินทรียวัตถุ

                       ในดินต่ า  อาจเนื่องมาจากในพื้นที่มีอนุภาคทรายเดํนจึงมีการระบายอากาศดี  ซึ่งจะสํงเสริม
                       การสลายตัวของอินทรียวัตถุ (Sanchez, 1976 ; Virgo and Holmes, 1977)  ท าให๎ปริมาณอินทรียวัตถุ

                       ในดินมีคําต่ า  แตํอยํางไรก็ตาม  หลังจากด าเนินการเป็นระยะเวลา 1 ปี  ดินในทุกต ารับการทดลองจะมี

                       ปริมาณของอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นในระดับต่ า  อาจเป็นผลมาจากน้ าหมักชีวภาพซึ่งได๎จากการหมักเศษพืช
                       ซากสัตว์ให๎ยํอยสลายโดยกิจกรรมของจุลินทรีย์  และยํอยสลายสํวนที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ไปเป็น

                       ธาตุอาหาร  และใช๎ธาตุอาหารพืชนี้สํวนหนึ่งส าหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์เอง  เมื่อจุลินทรีย์ตาย

                       ธาตุอาหารก็จะถูกปลดปลํอยออกมารวมกับจุลินทรีย์  จึงท าให๎เกิดวัสดุที่มีคุณสมบัติคล๎ายฮิวมัส  ซึ่งมี

                       คุณสมบัติเชํนเดียวกับอินทรียวัตถุในดินทุกประการ (สมปองและคณะ, 2548)  ดังนั้นเมื่อใสํน้ าหมัก
                       ชีวภาพซึ่งประกอบด๎วยกรดอินทรีย์  ฮอร์โมน  กรดอะมิโน  และธาตุอาหาร  ซึ่งสามารถเป็นแหลํงอาหาร

                       ของจุลินทรีย์ดิน  ท าให๎จุลินทรีย์เพิ่มปริมาณขึ้น  และอาจเนื่องมาจากการยํอยสลายของเศษใบอ๎อย

                       โดยจุลินทรีย์ในแปลง  เป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุให๎แกํดินมากขึ้น  ซึ่งผลจากการศึกษาปริมาณเศษซากพืช

                       ที่รํวงหลํนในป่าเขตร๎อนโดยเฉลี่ยจะได๎น้ าหนักสด  1.2  ตันตํอไรํ (พบชาย,  2546) (ภาพที่3)

                              1.3  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

                                     ผลการวิเคราะห์ดินกํอนการทดลอง  พบวํา  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ของ

                       ทุกต ารับการทดลองอยูํในระดับสูงมาก (55  - 132  มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)  โดยต ารับการทดลองที่ 2
                       (วิธีการใช๎ปุ๋ยของเกษตรกรรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ)  มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์สูงสุด

                       เทํากับ  132  มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม  และต ารับการทดลองที่ 4 (วิธีการใช๎ปุ๋ยตามค าแนะน าโปรแกรม

                       การจัดการดินและปุ๋ยรายแปลงรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ)  มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ าสุด
                       เทํากับ  55  มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46