Page 36 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        25






                              2.3 ขั้นตอนการด าเนินการ
                                   2.3.1  ก าหนดพื้นที่เป้าหมาย  โดยพิจารณาจากกลุํมชุดดินหลักของภาคตะวันออก

                       ที่มีการใช๎ประโยชน์ที่ดินเป็นอ๎อย  และดินมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกอ๎อยอยูํในระดับ

                       เหมาะสมปานกลาง (S2)
                                     2.3.2  ตรวจสอบพื้นที่เป้าหมาย  จ าแนกดินระดับชุดดิน (Soil  series) ท า  site

                       characterization  และเก็บตัวอยํางดินในแตํละชั้น

                                     2.3.3 เก็บตัวอยํางดินในแตํละต ารับการทดลอง  ในลักษณะ Composite  sample
                       ที่ระดับความลึก  0 – 20  เซนติเมตร  เพื่อวิเคราะห์หาคําปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)  ปริมาณ

                       ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (P)  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (K)  คําพีเอช (pH)  และความ

                       ต๎องการปูน (LR)
                                     2.3.4  การศึกษาสมบัติทางเคมีของดินในห๎องปฏิบัติการ

                                            (1) คําพีเอช (pH)  วัดโดยเครื่อง pH meter

                                            (2) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic matter)

                                            (3) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available Phosphorus)  สกัดโดย
                       วิธี  Bray II  และวิเคราะห์ปริมาณโดยวิธี Colorimetric

                                            (4) ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Mehlich I method)

                                     2.3.5 น าผลการวิเคราะห์ดินลงในโปรแกรมดินไทย  โปรแกรมการใช๎ปุ๋ยรายแปลง

                       และโปรแกรมของของส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน  เพื่อก าหนดค าแนะน าการใช๎ปุ๋ยใน
                       ต ารับการทดลองที่ 3 (T3)  ต ารับการทดลองที่ 4 (T4)  และต ารับการทดลองที่ 5 (T5)

                                     2.3.6 ด าเนินการท าแปลงทดลองโดยมีวิธีการจัดการดังนี้

                                     การใสํปุ๋ยอ๎อยโดยใสํปุ๋ยเคมีตามผลวิเคราะห์ดินแตํละต ารับแบํงใสํ  2  ครั้ง
                       ตอนต๎นฤดูฝน  และหลังจากใสํครั้งแรก  2  เดือน  พร๎อมทั้งฉีดพํนน้ าหมักชีวภาพ  3  ครั้ง

                                     วิธีใสํน้ าหมักชีวภาพ (ต ารับการทดลองที่ 2 ถึง 5)

                                            ครั้งที่ 1  เจือจาง 1 : 20  อัตรา  150  ลิตรตํอไรํ  โดยการฉีดพํนในชํวง
                       เตรียมดิน

                                            ครั้งที่ 2  เจือจาง 1 : 500  อัตรา  150  ลิตรตํอไรํ  โดยการฉีดพํนเมื่ออ๎อย

                       อายุ  45  วัน
                                            ครั้งที่ 3  เจือจาง 1 : 500  อัตรา  150  ลิตรตํอไรํ  โดยการฉีดพํนเมื่ออ๎อย

                       อายุ  90  วัน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41