Page 43 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        32






                              1.4  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ของดิน
                                     ผลการวิเคราะห์ดินกํอนการทดลอง  พบวํา  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์

                       อยูํในระดับต่ าถึงปานกลาง (16.84 - 56.46  มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)  โดยต ารับการทดลองที่ 3 (วิธีการใช๎

                       ปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรมดินไทยรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ) มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
                       ประโยชน์สูงสุดเทํากับ    56.46  มิลลิกรัม  และต ารับการทดลองที่ 1  (วิธีการใช๎ปุ๋ยของเกษตรกร)

                       และต ารับการทดลองที่ 2 (วิธีการใช๎ปุ๋ยของเกษตรกรรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ) มีปริมาณโพแทสเซียม

                       ที่เป็นประโยชน์ต่ าสุดเทํากับ  16.84  มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม  ซึ่งนําจะเป็นผลตกค๎างจากการจัดการ
                       ของเกษตรกรในพื้นที่

                                     ผลการวิเคราะห์ดินหลังการทดลอง  พบวํา  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์

                       มีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นทุกต ารับการทดลอง  โดยมีคําปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยูํในระดับ
                       ต่ า (15.98  -  28.97    มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)  ยกเว๎นในต ารับการทดลองที่ 3  (วิธีการใช๎ปุ๋ยตาม

                       ค าแนะน าจากโปรแกรมดินไทยรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ)  ที่มีคําลดลงเล็กน๎อยและมีคําต่ าสุด (15.98

                       มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)  การที่ปริมาณโพแทสเซียมมีคําต่ านั้น  อาจผลมาจากดินมีปริมาณแคลเซียม

                       และแมกนีเซียมสูง  ซึ่งแคตไออออนทั้งสองจะมีอ านาจสูงจึงท าการไลํที่โพแทสเซียมที่อยูํในดินให๎
                       เกิดการสูญหายออกไปจากดินได๎ (Brady and Weil, 2008 ; Sanchez, 1976 ; Mengel and Kirby,

                       1987)  นอกจากนี้เป็นอิทธิพลของวัตถุต๎นก าเนิดดินที่อาจมีโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบไมํเทํากัน

                       (Buol et al. 2003 ; Sanchez, 1976) เมื่อมีการสลายตัวผุพังจึงมีการปลดปลํอยโพแทสเซียมสํวนที่

                       เป็นประโยชน์ให๎แกํดินแตกตํางกัน (ภาพที่5)
                                        60


                                    โพแทสเซี่ยมที่แลกเปลี่ยนได้ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)   50



                                      40

                                      30
                                      20

                                      10
                                      0
                                          ต ารับการทดลองที่  ต ารับการทดลองที่  ต ารับการทดลองที่  ต ารับการทดลองที่  ต ารับการทดลองที่
                                              1         2         3         4          5

                                                        ก่อนการทดลอง   หลังการทดลอง


                        ภาพที่ 5  การเปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ของดินกํอนและหลังการทดลอง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48