Page 40 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        29






                                     เมื่อเปรียบเทียบกับผลการวิเคราะห์ดินหลังการทดลอง  พบวํา  คําพีเอชของดิน
                       มีแนวโน๎มลดลงทุกต ารับการทดลอง  โดยมีคําพีเอชเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง  (5.5 - 7.3)  ต ารับการทดลอง

                       ที่ 5  มีคําพีเอชของดินเป็นกรดจัด (5.5)  ซึ่งการที่ดินเป็นกรดแสดงให๎เห็นวํา  ดินที่ท าการศึกษาเป็น

                       ลักษณะของดินทั่วไปในเขตร๎อนที่มีพัฒนาการคํอนข๎างดี  และมีการชะละลายสูง  โดยดินที่เป็นกรด
                       มากกวํา  แสดงถึงมีการชะละลายที่มากกวํา  และพัฒนาการคํอนข๎างสูงกวําด๎วย (Sanchez, 1976 and

                       Eiumnoh et al., 1984)  ซึ่งกระบวนการชะละลายจะท าให๎เบสตําง ๆ  เคลื่อนย๎ายออกไปจากหน๎าตัด

                       ดิน  ท าให๎เกิดการสะสมแคตไอออนที่มีฤทธิ์เป็นกรด  ได๎แกํ  ไฮโดรเจน  เหล็ก  อะลูมินัม  ที่ผิว
                       อนุภาคดินเหนียวในปริมาณมาก (Zhang  et  al.,  2006)  ในสภาพที่พีเอชดินต่ ากวํา   5.5

                       ธาตุฟอสฟอรัสจะเกิดการจับตัวกับเหล็กและอะลูมินัม  เกิดเป็นสารประกอบที่ละลายน้ าได๎ยาก

                       และจึงท าให๎ฟอสฟอรัสไมํเป็นประโยชน์ตํอพืช  นอกจากนี้ในสภาพกรดนี้จะสํงเสริมให๎อะลูมินัม
                       ละลายออกมามากจนอาจเป็นพิษตํอพืชได๎ (Halvin et al., 2005)  จึงอาจไมํเหมาะสมตํอการปลูกพืช

                       นอกจากนี้ยังเป็นผลมาจากการใช๎ปุ๋ยเคมีจะท าลายสมดุลของระบบนิเวศดิน  สํงผลกระทบตํอสิ่งมีชีวิต

                       ในดิน  ปุ๋ยเคมีจะเรํงการสลายตัวของอินทรียวัตถุ  ท าให๎โครงสร๎างของดินเสื่อมลงดินจึงกระด๎างไมํ

                       อุ๎มน้ าและการใสํปุ๋ยเคมีที่มีธาตุไนโตรเจนมาก ๆ  จะท าให๎ดินเป็นกรด (วิฑูรย์,  2547)  (ภาพที่2)

                              1.2  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                                     ผลการวิเคราะห์ดินกํอนการทดลอง  พบวํา  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินทุกต ารับการ

                       ทดลองอยูํในระดับต่ ามาก (ร๎อยละ 0.02 - 0.03)  โดยต ารับการทดลองที่ 2  (วิธีการใช๎ปุ๋ยของเกษตรกร

                       รํวมกับน้ าหมักชีวภาพ)  มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงสุดร๎อยละ 0.03



                                      1.6
                                      1.4
                                      1.2 1
                                    อินทรียวัตถุ (เปอร์เซนต์)   0.8




                                      0.6
                                      0.4
                                      0.2
                                       0
                                          ต ารับการทดลองที่ 1  ต ารับการทดลองที่ 2  ต ารับการทดลองที่ 3  ต ารับการทดลองที่ 4  ต ารับการทดลองที่ 5
                                                        ก่อนการทดลอง   หลังการทดลอง


                       ภาพที่ 3  การเปรียบเทียบปริมาณอินทรียวัตถุกํอนและหลังการทดลอง
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45