Page 42 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        31








                                     140
                                    ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)   100
                                     120




                                      80
                                      60

                                      40

                                      20
                                      0
                                         ต ารับการทดลองที่ 1  ต ารับการทดลองที่ 2  ต ารับการทดลองที่ 3  ต ารับการทดลองที่ 4  ต ารับการทดลองที่ 5
                                                        ก่อนการทดลอง   หลังการทดลอง




                       ภาพที่ 4  การเปรียบเทียบปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์กํอนและหลังการทดลอง




                                     ผลการวิเคราะห์ดินหลังการทดลอง  พบวํา  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
                       ลดลงทุกต ารับการทดลอง  มีคําอยูํในระดับต่ าถึงปานกลาง (4  –  14   มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)  โดย

                       ต ารับการทดลองที่ 4 (วิธีการใช๎ปุ๋ยตามค าแนะน าโปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลงรํวมกับ

                       น้ าหมักชีวภาพ) มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์สูงสุดเทํากับ  14    มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม
                       และต ารับการทดลองที่ 3 (วิธีการใช๎ปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรมดินไทยรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ)

                       มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ าสุดเทํากับ  4  มิลลิกรัม  เป็นผลมาจากคําพีเอชของดินอยูํ

                       ในชํวง 7.3 - 7.4  ซึ่งเป็นกลางท าให๎ฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงอยูํในดินละลายออกมาในรูปที่เป็นประโยชน์
                       เพิ่มขึ้น (ดวงจันทร์, 2553)  ทั้งนี้อาจเป็นตกค๎างมาจากการจัดการในพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่  ทั้งนี้

                       เนื่องจากฟอสฟอรัสเป็นธาตุที่เคลื่อนที่ได๎น๎อยในดินจึงมักจะสะสมอยูํในดิน  โดยเฉพาะในดินชั้นบน

                       (Havlin et al., 2005)  ท าให๎ดินสามารถปลดปลํอยธาตุฟอสฟอรัสให๎พืชสามารถดูดไปใช๎ได๎  นอกจากนี้

                       การยํอยสลายของอินทรียวัตถุในดินจะปลดปลํอยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมบางสํวนให๎แกํดินได๎
                       (Brady and Weil, 2008) (ภาพที่4)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47