Page 30 - ผลการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ของกุยช่าย ในพื้นที่จังหวัดลำปาง
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          20




                             การประเมินความรุนแรงหรือเปอร์เซ็นต์การเข้าท าลายของโรคโคนเน่าของกุยช่าย
                         การหาความเสียหายของพืช (crop loss) หรือการหาความรุนแรงของโรค(disease severity) เมื่อพืช
                  เป็นโรค  พืชย่อมได้รับความเสียหายมากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่พันธุ์พืช  ความแข็งแรงของต้นพืช  อายุพืช

                  สภาพแวดล้อม และความรุนแรงของเชื้อสาเหตุ ความเสียหายอาจมีตั้งแต่ 0-100 เปอร์เซ็นต์ โดยทั่วไปความ
                  เสียหายที่เกิดจากโรคพืชมีดังนี้ ความเสียหายทางตรง เช่น ท าให้พืชเกิดอาการใบจุด ใบด่าง รากเป็นปม ราก
                  เน่า รากเป็นแผลหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของต้นพืชมีอาการผิดปกติ ความเสียหายทางอ้อม ได้แก่การที่เชื้อสาเหตุ
                  ของโรคไปแย่งอาหารจากพืชอุดทางเดินของท่ออาหาร ท าให้ใบพืชเปลี่ยนสีไป ท าให้พื้นที่สังเคราะห์แสงบนใบ
                  พืชลดลง หรือท าลายส่วนที่เป็นที่สะสมอาหาร หรือท าให้ส่วนที่เกี่ยวกับอาการขยายพันธุ์เสียไป เป็นต้น อาจ

                  เขียนเป็นสมการได้ว่า
                         ความเสียหายของพืช = ผลต่างของผลผลิตที่ควรได้ (ภายใต้การดูแลอย่างดี) กับผลผลิตที่ได้
                                               (ภายใต้การดูแลตามปกติ)

                         หรือ crop loss = attainable yield – actral yield
                         การประเมินความรุนแรงหรือเปอร์เซ็นต์การเข้าท าลายของโรคโคนเน่าและล าต้นเน่า จ านวน 20 ต้น
                  ต่อแปลง บันทึกผลโดยสังเกตอาการของโรคและประเมินระดับความรุนแรงของโรคโคนเน่าในต้นกุยช่ายแต่ละ
                  ต้น โดยใช้เกณฑ์การประเมินระดับความรุนแรงของโรคดัดแปลงจากวิธีการ Martínez et al. (2010) ซึ่งแบ่ง

                  ออกเป็น 5 ระดับ คือ
                         ระดับ 0 = ต้นกุยช่ายไม่แสดงอาการของโรค
                         ระดับ 1 = โคนของต้นกุยช่ายแสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบ 1-2 ใบ
                         ระดับ 2 = โคนของต้นกุยช่ายแสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบ 3-5 ใบ

                         ระดับ 3 = โคนของต้นกุยช่ายแสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบทุกใบยกเว้น
                  ส่วนยอด
                         ระดับ 4 = ต้นกุยช่ายแสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลทั้งต้น
                         เมื่อท าการประเมินระดับความรุนแรงของโรคโคนเน่าในต้นกุยช่ายแต่ละต้นในระดับต่างๆ แล้วน าผล

                  ประเมินที่ได้มาค านวณหาเปอร์เซ็นต์การถูกท าลายหรือดัชนีการท าลาย ดังนี้

                         % ดัชนีการท าลาย  =  ผลรวมของการเป็นโรคแต่ละระดับ  x        100      .

                                                      จ านวนต้นพืชที่สุม           ระดับสูงสุด
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35