Page 52 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        41







                       ช่วงที่ต้นผักคะน้าต้องการ เช่นเดียวกันกับค่าการน าไฟฟูาของดิน   ในส่วนของค่าความเป็นกรดด่าง
                       ของดินนั้น พบว่าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงท าให้ค่าความเป็นกรดด่างของดินสูงขึ้น จนอยู่ในระดับ
                       ต่ าสุดที่ต้นผักคะน้าต้องการได้
                                       ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง มีปริมาณฟอสฟอรัสสูงเมื่อเปรียบเทียบ

                       กับปุ๋ยอินทรีย์ทั่วไป และผักคะน้าส่วนใหญ่มีอัตราการใช้ธาตุฟอสฟอรัสต่ าเมื่อเปรียบเทียบกับธาตุ
                       ไนโตรเจน (ยงยุทธ และคณะ, 2554) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่ผ่านมา ยกตัวอย่าง เช่น งานวิจัยของ
                       เกศศิรินทร์ และคณะ (2556) และ ค านึง และคณะ (2555) ที่พบว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงท าให้

                       สมบัติทางเคมีของดินหลังปลูก โดยเฉพาะปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน มีแนวโน้ม
                       เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ดินที่ให้ปุ๋ยเคมีกลับมีแนวโน้มท าให้สมบัติทางเคมีของดินดังกล่าวลดลง ซึ่ง
                       ปราณี และคณะ (2551) รายงานว่าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงติดต่อกันเป็นเวลานานท าให้ลดการ
                       สูญเสียธาตุอาหาร โดยธาตุอาหารจะมีการปลดปล่อยอย่างช้า ๆ เนื่องจากมีฮิวมัสซึ่งเป็นองค์ประกอบ
                       ของอินทรียวัตถุในดินที่ช่วยตรึงธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ไว้ไม่ให้ถูกชะล้างไป นอกจากนี้ยังพบว่าท า

                       ให้ดินมีสมบัติทางเคมีดีขึ้น โดยเฉพาะค่าความเป็นกรดด่าง ซึ่งช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและให้ผล
                       ผลิตของพืชมีค่าเพิ่มมากขึ้น
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57