Page 50 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        39







                                3.2 ปริมาณไนโตรเจน
                                          ปริมาณธาตุไนโตรเจนที่พบในดินก่อนการทดลองในดินชุดเรณู ที่ใช้ในการทดลองมี

                       ปริมาณธาตุไนโตรเจนในดิน 0.04    มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม   ซึ่งหลังการทดลองพบว่าธาตุไนโตรเจนมี
                       ปริมาณเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ต ารับการทดลอง ยกเว้นต ารับการทดลองที่  7   ที่ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 20-11-11
                       จ านวน 50 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน จ านวน 50 กิโลกรัมต่อไร่ และ
                       ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส จ านวน 25   กิโลกรัมต่อไร่  ที่ปริมาณธาตุไนโตรเจนในดิน

                       เท่ากับปริมาณธาตุไนโตรเจนก่อนการทดลอง โดยต ารับการทดลองที่ 4    คือ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์
                       คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน  600 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีสูตร  0-0-60  จ านวน 5  กิโลกรัมต่อไร่
                       เป็นต ารับการทดลองที่มีปริมาณธาตุไนโตรเจนเหลืออยู่ในดินหลังการทดลองมากที่สุด คือที่ 0.11
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ภาพที่ 7)

                               3.3 ปริมาณฟอสฟอรัส

                                        ปริมาณฟอสฟอรัสในดินก่อนการทดลองอยู่ที่ 240  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ภาพที่ 8)
                       โดยหลังการทดลองพบว่า  ต ารับการทดลองที่ 2 คือการใช้ปุ๋ยเคมีตามที่กรมวิชาการเกษตรแนะน าคือ

                       สูตร  20-11-11    จ านวน  100 กิโลกรัมต่อไร่ จะมีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสสูงที่สุด คือ 673.40
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม     ซึ่งต ารับการทดลองที่ 5 คือการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน
                       จ านวน 100 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส จ านวน  50  กิโลกรัมต่อไร่
                       ซึ่งเป็นอัตราที่กรมพัฒนาที่ดินแนะน าให้ใช้จะเป็นต ารับการทดลองที่มีธาตุฟอสฟอรัสต่ าที่สุด คือ

                       184.97 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ซึ่งน้อยกว่าธาตุฟอสฟอรัสเริ่มต้น   ส่วนต ารับการทดลองอื่น ๆ จะมี
                       ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสในดินอยู่ในระดับเดียวกับธาตุฟอสฟอรัสในดินก่อนการทดลอง ซึ่งในสภาพ
                       ธรรมชาติพบว่าสารฟอสฟอรัส ในดินจะอยู่ในรูปสารอินทรีย์ฟอสฟอรัส และอนินทรียฟอสฟอรัส ซึ่ง
                       หากเป็นอินทรีย์ฟอสฟอรัส จ าเป็นต้องถูก จุลินทรีย์เข้าย่อยสลายเสียก่อนจึงจะอยู่ในรูปไอออน

                       ฟอสเฟตที่อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ ซึ่งดินชุดเรณูซึ่งมีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย อาจมีปริมาณ
                       จุลินทรีย์ในปริมาณที่น้อยกว่าในดินปกติ ในส่วนของอนินทรียฟอสเฟต พบว่าการละลายออกมาในรูป
                       ไอออนฟอสเฟตที่เป็นประโยชน์นั้น สามารถท าปฏิกิริยากับไอออนเหล็ก และอะลูมิเนียมได้ง่าย และ

                       รวดเร็ว ซึ่งสารประกอบที่เกิดขึ้นมักจะละลายน้ าได้ยาก และท าให้ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัส
                       ในดินลดต่ าลง (ถวิล, 2548)

                               3.4 ปริมาณโพแทสเซียม
                                        ปริมาณโพแทสเซียมในดินก่อนการทดลองมีปริมาณ 17.40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ซึ่ง

                       ใกล้เคียงกับต ารับการทดลองที่ 1  ซึ่งเป็นต ารับควบคุมไม่ใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยอินทรีย์ และต ารับการ
                       ทดลองที่ 6  ที่ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-11-11  จ านวน 50 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตร
                       ไนโตรเจน  จ านวน 100  กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส  จ านวน 50
                       กิโลกรัมต่อไร่  ส่วนปริมาณธาตุโพแทสเซียมในต ารับการทดลองอื่น ๆ จะอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกัน

                       โดยในต ารับการทดลองที่ 2  ซึ่งเป็นการใช้ปุ๋ยเคมีตามที่กรมวิชาการเกษตรแนะน าใช้ปุ๋ยสูตร 20-11-
                       11    จ านวน  100 กิโลกรัมต่อไร่ จะมีปริมาณโพแทสเซียมในดินสูงที่สุด คือ  32.02    มิลลิกรัมต่อ
                       กิโลกรัม (ภาพที่ 9) ซึ่งการมีธาตุโพแทสเซียมในระดับต่ านี้จะพบว่าเป็นปัญหาในการปลูกพืชในดินที่มี
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55