Page 48 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        37







                       ตารางที่ 6 ค่าวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ใช้ทดสอบ


                                             รายการ                                 ค่าวิเคราะห์
                        ค่าพีเอช (pH)                                                   5.9

                        ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM : เปอร์เซ็นต์)                          29.57
                        ปริมาณไนโตรเจน (เปอร์เซ็นต์)                                   4.35
                        ปริมาณฟอสฟอรัส (เปอร์เซ็นต์)                                   3.50
                        ปริมาณโพแทสเซียม (เปอร์เซ็นต์)                                 2.11

                        ค่าอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N)                           8.09
                        ค่าการน าไฟฟูา (เดซิซีเมนต่อเมตร)                              4.28
                        ค่าความชื้น (เปอร์เซ็นต์)                                      16.54
                        สิ่งเจือปน (เปอร์เซ็นต์)                                       0.05




                       3. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน
                                    3.1 ปริมาณอินทรียวัตถุ


                                       ปริมาณอินทรียวัตถุในดินก่อนการทดลองอยู่ในระดับต่ า คือ มีค่าเท่ากับ 0.71
                       เปอร์เซ็นต์  (ตารางที่ 7)  เมื่อหลังด าเนินการทดลองพบว่าปริมาณอินทรียวัตถุในดิน มีปริมาณเพิ่มขึ้น
                       ในทุกต ารับการทดลอง โดยเฉพาะในต ารับการทดลองที่ 4  คือ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตร
                       ไนโตรเจน  600 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีสูตร  0-0-60  จ านวน 5  กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งเป็นต ารับที่

                       มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากที่สุด จะมีปริมาณอินทรียวัตถุเหลือในดินมากที่สุด คือ 2.08    เปอร์เซ็นต์
                       (ภาพที่ 6) ส่วนต ารับการทดลองอื่น ๆ จะมีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน อยู่ในปริมาณที่ใกล้เคียงกัน ซึ่ง
                       การที่พบว่าปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีระดับต่ า อาจเนื่องมาจากอนุภาคทราย ซึ่งมีขนาดใหญ่ ท าให้มี
                       การระบายอากาศได้ดี ซึ่งจะส่งเสริมต่อการสลายตัวของอินทรียวัตถุ (Sanchrz, 1976 ; Virgo and

                       Holmes,  1977) ท าให้พบอินทรียวัตถุต่ า แต่อย่างไรก็ตามก็พบว่าในปีที่สองและสามจะมีปริมาณ
                       อินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้น มากกว่าปริมาณอินทรียวัตถุก่อนการทดลอง
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53