Page 51 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       41







                                                                              กะเทาะเปลือก
                                              ท าความสะอาด
                                              ฝุ่น ฟาง กรวด ทราย                 แกลบ
                            ข้าวเปลือก                                                        ข้าวกล้อง

                                                               ข้าวเปลือก

                                                                                        ขัดขาว ขัดมัน



                                       บรรจุถุง                     ข้าวสารสีขาว                   ข้าวสาร
                                                                      สม่ าเสมอ
                                                                                       ยิงสี/ดีดสี

                       ภาพที่ 4.1 กระบวนการแปรรูปข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ของจังหวัดยโสธร

                            จากตารางที่ 4.3 กระบวนการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ด้านภายภาพ

                       พบว่า
                              วิธีการจัดการดินส่วนใหญ่ใช้วิธีไม่เผาตอซังฟางข้าวและเศษวัสดุอินทรีย์ในแปลงนาคิดเป็น
                       ร้อยละ 91.95 รองลงมาคือปลูกพืชตระกูลถั่วในแปลงนาคิดเป็นร้อยละ 80.54 ไถกลบเพื่อปรับปรุง
                       บ ารุงดินร้อยละ 77.18 และน้อยที่สุดวิเคราะห์ความเป็นกรดเป็นด่างของดินทุกปีคิดเป็นร้อยละ
                       6.04

                              วิธีการไถแปลงนาข้าวขาวดอกมะลิ 105 ส่วนใหญ่เกษตรกรใช้รถไถใหญ่คิดเป็นร้อยละ
                       48.32 รองลงมาคือใช้รถไถแบบเดินตามคิดเป็นร้อยละ 39.60 และน้อยที่สุดใช้แรงงานสัตว์คิดเป็น
                       ร้อยละ 12.08

                              ก่อนปลูกเกษตรกรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช้ปุ๋ยมูลสัตว์คิดเป็นร้อยละ 84.56 และไม่ใช้
                       คิดเป็นร้อยละ 15.44
                              ชนิดของปุ๋ยมูลสัตว์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นมูลวัว มูลกระบือคือเป็นร้อยละ 87.25 รองลงมาคือมูล
                       ไก่คิดเป็นร้อยละ 10.07 และน้อยที่สุดคือมูลค้างคาวคิดเป็นร้อยละ 2.68

                              แหล่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยส่วนใหญ่ มีวัตถุดิบเองในครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 85.23
                       บางครั้งก็ซื้อในบริเวณชุมชนมาใช้ร่วมคิดเป็นร้อยละ 65.10 และอื่นๆ (ซื้อมาใช้ร่วมจากร้านค้าวัสดุ
                       การเกษตร) คิดเป็นร้อยละ 20.13
                              วัสดุที่ใช้แทนธาตุไนโตรเจนส่วนใหญ่ใช้มูลสัตว์ แกลบดิน ซากพืช ซากสัตว์ คิดเป็นร้อยละ

                       53.02 รองลงมาคือเลือดสัตว์แห้งหรือกระดูกป่น คิดเป็นร้อยละ 24.83 จากวัสดุอื่นๆ ร้อยละ 12.08
                       และน้อยที่สุดคือสาหร่ายสีน้ าเงินแกมเขียว คิดเป็นร้อยละ 10.07
                              วัสดุที่ใช้แทนธาตุฟอสฟอรัสส่วนใหญ่มูลสัตว์ ซากพืช ซากสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 46.98
                       รองลงมาคือกระดูกป่นคิดเป็นร้อยละ 16.11 ขี้เถ้าแกลบคิดเป็นร้อยละ 14.77 กากเมล็ดพืชคิดเป็น

                       ร้อยละ 14.09 และน้อยที่สุดคือหินฟอสเฟต คิดเป็นร้อยละ 8.05
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56