Page 50 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       40







                       ตารางที่ 4.2 ต้นทุนการท านาอินทรีย์ (บาทต่อไร่)

                                                                         แปลงนาอินทรีย์
                                   กิจกรรม
                                                          นาด า                  นาหว่าน
                       1. การเตรียมดิน
                       - ค่าไถดะและไถแปร (บาทต่อไร่)       550                      550
                       - ค่าไถกลบพืชปุ๋ยสด                 200                      200

                       2. ค่าวัสดุการเกษตร
                       - ค่าเมล็ดพันธุ์ข้าว (บาทต่อไร่)    125                      500
                       - ค่าเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด (บาทต่อไร่)   100                  100
                       - ค่าปุ๋ยคอก (บาทต่อไร่)           1,200                    1,200

                       3. ค่าแรงงาน
                       - ค่าหว่านข้าว/ปักด า (บาทต่อไร่)   1,100                    50
                       - ค่าหว่านปุ๋ย (บาทต่อไร่)          200                      200
                       - ค่าก าจัดวัชพืช (บาทต่อไร่)                                400

                       - ค่าเก็บเกี่ยว (บาทต่อไร่)         810                      600
                       รวมต้นทุนผันแปร (บาทต่อไร่)        4,285                    3,800
                          ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)          390                      350

                          ราคาผลผลิต (บาทต่อกิโลกรัม)      20                       20
                       มูลค่าผลผลิต (บาทต่อไร่)           7,800                    7,000
                       รายได้เหนือต้นทุนผันแปร (บาท)      3,515                    3,200

                       ที่มา : ส านักงานเกษตรจังหวัดยโสธร (2559)

                              นอกจากการผลิตข้าวอินทรีย์ที่มีกระบวนการเก็บรักษาผลผลิตเป็นเรื่องที่ส าคัญแล้ว
                       เกษตรกรในจังหวัดยโสธรได้มีการแปรสภาพข้าวเปลือกอินทรีย์เป็นข้าวสารอินทรีย์โดยใช้เครื่องสี

                       ส าหรับการสีข้าวอินทรีย์โดยเฉพาะ หรือบางครั้งจ าเป็นต้องใช้โรงสีแปรสภาพข้าวอินทรีย์ร่วมกับข้าว
                       ธรรมดา  ก็จะมีการท าความสะอาดเครื่องสีหรือแปรสภาพข้าวอินทรีย์ก่อนข้าวธรรมดา  ส าหรับการ
                       บรรจุหีบห่อ บรรจุในถุงพลาสติกขนาด 1 กิโลกรัม โดยใช้วิธีอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ส าหรับการ
                       ผลิตข้าวอินทรีย์มีขั้นตอนการผลิตที่เป็นระบบและต้องพร้อมที่จะถูกตรวจสอบการปฏิบัติและคุณภาพ

                       ผลผลิต ดังนั้นเกษตรกรในจังหวัดยโสธรจึงต้องปฏิบัติ ดูแลไร่นาอย่างสม่ าเสมอตลอด  ฤดูการผลิต
                       และเกษตรกรได้มีการหาความรู้ เทคนิควิธีการต่างๆ  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเป็นมิตรกับ
                       สิ่งแวดล้อม ดังภาพที่ 4.1
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55