Page 30 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               23







                                  3)    อ้อยโรงงาน มีการส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะปลูกร่วมกันระหว่างภาคราชการและ
                       เอกชน ทั้งในเรื่องของการใช้พันธุ์ดีและปฏิบัติดูแล พันธุ์ที่ใช้ในการเพาะปลูก ได้แก่ พันธุ์ขอนแก่น 3
                       ซึ่งเป็นพันธุ์ของทางราชการ พันธุ์อู่ทอง 8  พันธุ์อู่ทอง 10  พันธุ์อู่ทอง 12  และLK9211  ซึ่งเป็นพันธุ์
                       ส่งเสริมของส านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย

                                  4)    มันส าปะหลัง จังหวัดพิจิตรเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมันส าปะหลังมากจังหวัดหนึ่ง
                       ในเขตภาคเหนือรองจากจังหวัดก าแพงเพชร และนครสวรรค์ พันธุ์ที่ใช้เพาะปลูก ได้แก่ ระยอง 11
                       ระยอง 5 ระยอง 7 ห้วยบง 60 และเกษตรศาสตร์ 50 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ทางราชการส่งเสริมและเหมาะสม
                       ที่จะใช้ปลูกในพื้นที่จังหวัด

                                  5)    ปศุสัตว์ จังหวัดพิจิตรมีการท าปศุสัตว์ที่โดดเด่น ได้แก่ การเลี้ยงโคเนื้อ  กระบือ
                       สุกร ไก่ และเป็ด และมีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าแบบการเลี้ยงในบ่อดินในพื้นที่อ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอ
                       โพทะเล อ าเภอสามง่าม และอ าเภอบางมูลนาก ปลาที่นิยมเลี้ยง เช่น ปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาหมอ
                       และปลานิล เป็นต้น

                            2.5.2 อุตสาหกรรมของจังหวัดพิจิตร
                                  จังหวัดพิจิตร มีจ านวนสถานประกอบการอุตสาหกรรม พ.ศ. 2559 ทั้งสิ้น 720 แห่ง
                       จ าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ ด้านการเกษตร 197 แห่ง อาหาร 31 แห่ง เครื่องดื่ม 5 แห่ง

                       สิ่งทอ 2 แห่ง เครื่องแต่งกาย 4 แห่ง ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ 13 แห่ง เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน
                       31 แห่ง กระดาษและผลิตภัณฑ์จากกระดาษ 9 แห่ง เคมี 21 แห่ง ปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์ 7 แห่ง
                       ยาง 12  แห่ง พลาสติก 13  แห่ง อโลหะ 111  แห่ง โลหะ 8  แห่ง  ผลิตภัณฑ์โลหะ 57  แห่ง
                       เครื่องจักรกล 70 แห่ง ไฟฟ้า 2 แห่ง ขนส่ง 86 แห่ง และอื่น ๆ 37 แห่ง เงินลงทุน 21,902 ล้าน
                       บาท แรงงานอุตสาหกรรม 9,829 คน แบ่งเป็น แรงงานชาย 5,556 คน และแรงงานหญิง 4,273 คน

                       (ส านักงานสถิติจังหวัดพิจิตร, 2560)
                            จากข้อมูลส านักงานคลังจังหวัดพิจิตร (2557) พบว่า การผลิตของจังหวัดพิจิตร พ.ศ.  2557
                       หดตัวร้อยละ 8.4 จากที่ขยายตัวร้อยละ 6.4 ใน พ.ศ. 2556 เป็นผลจากการผลิตภาคการเกษตรที่มี

                       สัดส่วนร้อยละ 35.6 ของการผลิตรวม หดตัวร้อยละ 10.1 ต่อเนื่องจากที่หดตัวร้อยละ 1.3 ใน พ.ศ.
                       2556  เนื่องจากการผลิตในหมวดพืชผลหดตัวตามการหดตัวของการเพาะปลูกข้าว ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจ
                       หลักของจังหวัดที่ลดลงและจากการลดแรงจูงใจด้านราคารับซื้อที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่องหลังจาก
                       สิ้นสุดโครงการรับจ าน าข้าวของภาครัฐ ประกอบกับการผลิตด้านประมง หดตัวร้อยละ 32.7 ต่อเนื่อง

                       จากที่ หดตัวร้อยละ 19.8 ใน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็นผลกระทบจากภัยแล้งและการขาดแคลนน้ าเพื่อการ
                       เพาะปลูกและการเพาะเลี้ยงปลาน้ าจืด นอกจากนี้ยังมีผลมาจากการผลิตนอกภาคการเกษตรที่มี
                       สัดส่วนร้อยละ 64.4 ของการผลิตรวม หดตัวร้อยละ 7.3 จากที่ขยายตัวร้อยละ 11.7 ใน พ.ศ. 2556
                       สาขาการผลิตส าคัญที่ หดตัว  ได้แก่  สาขาอุตสาหกรรม  สาขาการขายส่ง ขายปลีกฯ  สาขาขนส่งฯ

                       สาขาเหมืองแร่และเหมืองหิน สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ สาขาการศึกษา  สาขาก่อสร้าง
                       ประกอบกับสาขาตัวกลางทางการเงิน    และสาขาบริหารราชการฯ ชะลอตัวลงจาก พ.ศ.  2556
                       ในขณะที่สาขาการไฟฟ้า ประปาฯ สาขาโรงแรม  และภัตตาคาร สาขาบริการด้านสุขภาพ สาขาการ
                       ให้บริการชุมชน และสาขาลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคลอยู่ในภาวะขยายตัว และจากข้อมูลกรมบัญชีกลาง

                       (2559) พบว่า การผลิตของจังหวัดพิจิตร ช่วงครึ่งแรกของ พ.ศ. 2559 หดตัวที่ร้อยละ -2.6 สะท้อน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35