Page 42 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27







                       3.3 เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน ้าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน
                              เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อยู่ล าดับที่ ศก.7  (2556)  เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่ง
                       ของลุ่มน้ าสาขาล าน้ ามูลส่วนที่ 3 (0522) ลุ่มน้ าหลักแม่น้ ามูล (02) ต าบลโพธิ์ ต าบลโพนเขวา ต าบล
                       หนองแก้ว  ต าบลตะดอบ และต าบลโพนข่า อ าเภอเมืองศรีสะเกษ  จังหวัดศรีสะเกษ  มีพื้นที่ 47,413  ไร่

                       ตั้งอยู่ระหว่างพิกัด UTM  ที่ 1661800  ถึง 1676000  เหนือ และ 432000  ถึง 442800  ตะวันออก
                       UTM grid, Zone 48P Datum WGS84 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2556)

                       3.4 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ (Satisfaction)

                              ได้มีผู้ให้ความหมาย ความพึงพอใจ ไว้ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2542) ได้ให้
                       ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า พึงพอใจ หมายถึง รัก ชอบใจ และพึงใจ หมายถึง พอใจ ชอบ
                       ใจ ส่วน  Shelly   อ้างโดย ประกายดาว  (2536)  ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ว่าความพึง
                       พอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึก

                       ทางบวกเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นแล้วจะท าให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจาก
                       ความรู้สึกทางบวกอื่นๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับความสุขสามารถท าให้เกิด
                       ความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นจะเห็นได้ว่าความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและความสุขนี้

                       จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกในทางบวกอื่นๆ ขณะที่วิชัย (2531)  กล่าวว่า แนวคิดความพึง
                       พอใจ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความต้องการของมนุษย์ กล่าวคือ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อความ
                       ต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง ซึ่งมนุษย์ไม่ว่าอยู่ในที่ใดย่อมมีความต้องการขั้นพื้นฐานไม่
                       ต่างกัน  (อ้างอิงจาก  https://www.gotoknow.org/posts/492000 )


                       3.5 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ
                               จตุพร( 2560) กล่าวว่าการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) เป็น
                       การวิเคราะห์สภาพองค์การ หรือหน่วยงานในปัจจุบัน เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่อาจ
                       เป็นปัญหาส าคัญในการด าเนินงานสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต SWOT เป็นตัวย่อที่มีความหมายดังนี้

                               1)  Strengths       - จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ
                               2)  Weaknesses      - จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ
                               3) Opportunities    - โอกาสที่จะด าเนินการได้
                               4) Threats          - อุปสรรค ข้อจ ากัด หรือปัจจัยที่คุกคามการด าเนินงานขององค์การ
                              หลักการส าคัญของ  SWOT คือ การวิเคราะห์โดยการส ารวจจากสภาพการณ์ 2  ด้าน คือ
                       สภาพการณ์ภายในและสภาพการณ์ภายนอก ดังนั้น การวิเคราะห์  SWOT  จึงเรียกได้ว่าเป็นการ

                       วิเคราะห์สภาพการณ์  (Situation  Analysis)  ซึ่งเป็นการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง
                       (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดล้อม (รู้เขา) ชัดเจน และวิเคราะห์โอกาส-อุปสรรค การวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ทั้ง
                       ภายนอกและภายในองค์กร ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น
                       ภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นแล้วและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต รวมทั้งผลกระทบของ

                       การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ที่มีต่อองค์กรธุรกิจ และจุดแข็ง จุดอ่อน และความสามารถด้านต่างๆ ที่
                       องค์กรมีอยู่ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการก าหนดวิสัยทัศน์ การก าหนดกลยุทธ์
                       และการด าเนินตามกลยุทธ์ขององค์กรระดับองค์กรที่เหมาะสมต่อไป
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47