Page 29 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       18




                                 ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (soil fertility) หมายถึง ความสามารถของดินในการให้ธาตุ

                   อาหารแก่พืช ความอุดมสมบูรณ์ของดินประเมินได้จากคุณสมบัติทางเคมีของดิน 5 ประการ คือ ปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดิน (OM: organic matter) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC: cation exchange capacity)
                   อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบส (%BS: base saturation percent) ความเป็นประโยชน์ของธาตุฟอสฟอรัส
                   (P: available Phosphorus) และความเป็นประโยชน์ของธาตุโพแทสเซียม (K: available Potassium)

                   โดยคิดที่ความลึกเฉลี่ย 0-25 เซนติเมตร ส าหรับข้าว พืชไร่และพืชรากสั้นทุกชนิด และ 0-50 เซนติเมตร
                   ส าหรับไม้ผลและไม้ยืนต้น โดยแสดงระดับของธาตุอาหารที่ใช้ในการประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                   (กองส ารวจและจ าแนกดิน, 2543; คณะกรรมการจัดท าพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551) ดังนี้



                                          OM              CEC             BS     available P  available K
                   ระดับของธาตุอาหาร
                                          (%)         (cmolc kg )        (%)             (mg kg )
                                                                -1
                                                                                                -1
                           ต่ า          <1.5             <10             <35        <10          <60

                                          (1)              (1)            (1)         (1)          (1)
                        ปานกลาง         1.5-3.5           10-20          35-75      10-25        60-90
                                          (2)              (2)            (2)         (2)          (2)

                           สูง           >3.5             >20             >75        >25          >90
                                          (3)              (3)            (3)         (3)          (3)


                   หมายเหตุ   ระดับของธาตุอาหารต่ าให้ 1 คะแนน
                               ระดับของธาตุอาหารปานกลางให้ 2 คะแนน
                               ระดับของธาตุอาหารสูงให้ 3 คะแนน


                                    การประเมินความสมบูรณ์ของดินได้จากการรวมคะแนนของระดับธาตุอาหารที่อยู่ใน
                   ดินระดับธาตุอาหารในดินต่ า ปานกลางหรือสูงก็จะให้คะแนน 1, 2 และ 3 คะแนน ตามล าดับและเมื่อรวม
                   คะแนนจากคุณสมบัติของดิน 5 ประการได้ 5-7 8-12 และ 13-15 คะแนน ดินนั้นจะมีความอุดมสมบูรณ์

                   ของดินต่ า ปานกลางและสูงตามล าดับ โดยคิดที่ความลึกเฉลี่ย 0-25 เซนติเมตร ส าหรับข้าว พืชไร่และพืช
                   รากสั้นทุกชนิด และ 0-50 เซนติเมตร ส าหรับไม้ผลและไม้ยืนต้น

                           3.6 ดินปัญหา หมายถึง ดินที่มีสมบัติไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมน้อยส าหรับการเพาะปลูกพืช

                   ถ้าน าดินนั้นมาใช้ประโยชน์จะไม่สามารถให้ผลผลิตหรือให้ผลผลิตต่ า นอกจากนี้ยังรวมไปถึงที่ดินที่มี
                   ข้อจ ากัดต่อการใช้ประโยชน์ ซึ่งเมื่อน าไปใช้แล้วจะเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างรุนแรง (กรมพัฒนา
                   ที่ดิน, 2553) ในบริเวณเดียวกันอาจมีปัญหาดินมากกว่าหนึ่งประเภท ดังนั้นการแก้ไขปัญหาดินจ าเป็นต้อง

                   แก้ไขร่วมกันทุกปัญหา จึงจะท าให้การใช้ที่ดินเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดินปัญหาหลักของ
                   ประเทศไทย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553) ได้แก่
                                 1. ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดก ามะถัน หมายถึง ดินที่อาจมี ก าลังมี หรือมีกรดก ามะถัน
                   เกิดขึ้นในดิน พบในบริเวณที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเลที่มีหรือเคยมีน้ าทะเลหรือมีน้ ากร่อยท่วมถึงในอดีต
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34