Page 52 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


            44    ร า ย ง า น การส�ารวจดิน




                              จากสถิติภูมิอากาศ ในคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ. 2526-2555) ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน
            อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ (ตารางที่ 1) มีค่าปริมาณน�้าฝนเฉลี่ยรวมตลอด 1,366 มิลลิเมตร มีช่วงฤดูแล้งส�าหรับ

            ยางพาราประมาณ 4-5 เดือน และมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27 องศาเซลเซียส จากการวิเคราะห์ปัจจัยภูมิอากาศ
            ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ต่อการปลูกยางพารา พบว่าสภาพภูมิอากาศโดยภาพรวมไม่เหมาะสม

            ส�าหรับการปลูกยางพารา

                      7.3.2  ความเหมาะสมของดินส�าหรับงานด้านปฐพีกลศาสตร์

                              การจ�าแนกความเหมาะสมของดินส�าหรับงานด้านปฐพีกลศาสตร์ หมายถึง การจัดหมวดหมู่

            ของดินตามลักษณะและสมบัติดิน ทางด้านปฐพีกลศาสตร์ เพื่อการใช้งานในแต่ละกิจกรรม ว่ามีความเหมาะสม
            อยู่ในระดับไหน รวม 11 กิจกรรม ได้แก่ การใช้เป็นแหล่งหน้าดิน แหล่งทรายและกรวด ดินถมหรือดินคันทาง

            การใช้เป็นเส้นทางแนวถนน การใช้บ่อขุด การใช้เป็นพื้นที่อ่างกักเก็บน�้าขนาดเล็ก การใช้สร้างคันกั้นน�้า การใช้
            ท�าระบบบ่อเกรอะ การใช้สร้างโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก การใช้สร้างอาคารต�่าๆ และการใช้ยานพาหนะ

            ในช่วงฤดูฝน (สุวณี, 2538)

                              1)  ชั้นความเหมาะสมของดินส�าหรับงานด้านปฐพีกลศาสตร์ (ตารางที่ 5) จ�าแนกตามกิจกรรม
            ได้ดังนี้

                                  (1) ระดับความเหมาะสมของดินส�าหรับใช้ท�าบ่อขุด อ่างเก็บน�้าขนาดเล็ก อาคารต�่าๆ และ

            การใช้ยานพาหนะในช่วงฤดูฝน แบ่งระดับความเหมาะสมได้ 3 ระดับ ดังนี้

                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสมดี (good)

                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 2 : เหมาะสมปานกลาง (fair)
                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 3 : ไม่เหมาะสม (poor)

                                  (2) ระดับความเหมาะสมของดินส�าหรับการใช้เป็นแหล่งหน้าดิน แหล่งทรายและกรวด

            ดินถมหรือดินคันทาง การใช้เป็นเส้นทางแนวถนน แบ่งระดับความเหมาะสมได้ 4 ระดับ ดังนี้

                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสมดี (good)

                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 2 : เหมาะสมปานกลาง (fair)
                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 3 : ไม่เหมาะสม (poor)

                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 4 : ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง (very poor)

                                  (3) ระดับความเหมาะสมแต่ละระดับ มีความหมาย ดังนี้

                                     ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสมดี (good) คือ ดินไม่มีหรือมีข้อจ�ากัดเล็กน้อย
            สมบัติต่างๆ เหมาะสมตามที่ก�าหนดไว้ จะมีข้อจ�ากัดบ้างเล็กน้อยและสามารถแก้ไขได้ง่าย การดูแลรักษาและ

            การปรับปรุงบ�ารุงดินท�าได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57