Page 20 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


            10    ร า ย ง า น การส�ารวจดิน




                       6.2.4  สภาพสมดุลน�้าเพื่อการเกษตร

                          จากการวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศปี 2526-2555 โดยใช้โปรแกรม CROPWAT for Window
            Version 4.3 เพื่อศึกษาถึงสภาพการสมดุลของน�้าและความชื้นในดินเพื่อการเกษตร (ตารางที่ 1 และภาพที่ 2)

            แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน�้าฝน (precipitation) และค่าศักย์การคายระเหยน�้า (potential
            evapotranspiration) ซึ่งจะท�าให้ทราบถึงช่วงและปริมาณของการขาดน�้า (water deficiency) และช่วงปริมาณ

            น�้ามากพอ (water surplus) โดยที่ปริมาณน�้าฝนแสดงถึงจ�านวนน�้าที่ได้รับเข้ามา ส่วนค่าศักย์การคายระเหยน�้า
            แสดงถึงปริมาณน�้าที่สูญเสียไป


                          จากรูปกราฟแสดงสภาพความสมดุลน�้า (ภาพที่ 2) สามารถอธิบายพอสังเขปได้ ดังนี้

                          ช่วงที่มีน�้าเพียงพอ (water surplus) คือ ช่วงที่มีปริมาณน�้าฝนมากกว่าครึ่งหนึ่งของค่าศักย์ของ
            การระเหยน�้า (0.5PET) แต่ไม่เกินค่าศักย์ของการระเหยน�้า ซึ่งมีน�้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก อยู่ในช่วงต้นเดือน

            กรกฏาคมถึงปลายเดือนตุลาคม แสดงว่าปริมาณน�้าฝนในช่วงดังกล่าวท�าให้ดินมีความชื้นเพียงพอต่อการเจริญ
            เติบโตของพืช ส�าหรับจุดเริ่มต้นของฤดูเพาะปลูกควรเริ่มตั้งแต่ประมาณเดือนมีนาคมและไปสิ้นสุดเอาในช่วงเดือน

            ตุลาคม ส�าหรับช่วงขาดน�้า (deficit period) คือ ช่วงที่มีปริมาณฝนตกน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของค่าศักย์ของการระเหยน�้า
            (0.5PET) ซึ่งจะอยู่ในช่วงระหว่างปลายเดือนตุลาคมจนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดไป









































            ภำพที่ 2  กราฟแสดงสมดุลของน�้าเพื่อการเกษตร จังหวัดฉะเชิงเทรา (ปี พ.ศ. 2526-2555)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25