Page 22 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12 ร า ย ง า น การส�ารวจดิน
หมำยเลข ค�ำอธิบำย
1 พื้นที่ลาดเชิงเขา
2 พื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน (erosional surface) ที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาด
3 ที่ราบลุ่มระหว่างล�าน�้า
ภำพที่ 3 ภาพร่างลักษณะพื้นที่และลักษณะทางธรณีสัณฐานในบริเวณศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ
6.5 แหล่งน�้ำ
พื้นที่บริเวณโครงการศูนย์ฯ มีแหล่งน�้าที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวพระราชด�าริ ซึ่งเป็นแหล่งน�้าที่สามารถ
น�ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรและอื่นๆ พอจะสรุปได้ดังนี้ (แสดงดังภาพที่ 5)
6.5.1 อ่างเก็บน�้า มีอ่างเก็บน�้าทั้งสิ้น 6 แห่ง มีขนาดต่างๆ กัน จ�าแนกออกได้ดังนี้ อ่างเก็บน�้าที่มี
ขนาดค่อนข้างใหญ่ ได้แก่ อ่างเก็บน�้าห้วยส�าโรงเหนือตอนบนแห่งที่ 8 และอ่างเก็บน�้าห้วยส�าโรงใต้ อ่างเก็บน�้าที่
มีขนาดปานกลาง ได้แก่ อ่างเก็บน�้าห้วยเจ็ก และอ่างเก็บน�้าห้วยส�าโรงเหนือตอนล่างซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ตอน ส่วน
อ่างเก็บน�้าขนาดค่อนข้างเล็ก ได้แก่ อ่างเก็บน�้าห้วยเจ็กแยก 1 และอ่างเก็บน�้าห้วยเจ็กแยก 2
6.5.2 บ่อน�้า ส่วนมากเกิดจากการขุดเอาดินไปท�าท�านบสร้างอ่างเก็บน�้า และท�าถนนบริเวณภายใน
โครงการของศูนย์ฯ นั่นเอง ซึ่งในฤดูฝนจะมีน�้าขังอยู่เป็นจ�านวนมาก เมื่อถึงฤดูแล้งน�้าจะเหลือน้อยมาก บางแห่ง
ไม่มีน�้าเหลืออยู่เลย มีทั้งสิ้นรวม 6 บ่อ อยู่บริเวณกรมปศุสัตว์ และ กรป. กลาง 2 บ่อ กรมพัฒนาที่ดิน 1 บ่อ
วิทยาลัยเกษตรกรรมฉะเชิงเทรา 1 บ่อ พื้นที่ที่เป็นของเอกชนภายในโครงการของศูนย์ฯ อีก 2 บ่อ
6.5.3 สระเก็บน�้า ได้ท�าการขุดทั้งสิ้นในปัจจุบันนี้ มี 7 แห่ง ด้วยกัน แต่ละแห่งจะมีการท�าคันดิน
รอบๆ สระเก็บน�้า เพื่อให้สามารถเก็บน�้าได้ในปริมาณมาก บางสระก็มีการเทปูนซีเมนต์ข้างๆ ขอบรอบสระ บาง
แห่งก็ไม่มีการเทปูนซีเมนต์ และมีอยู่แห่งหนึ่งที่ใช้พลาสติกปูพื้นเพื่อท�าเป็นสระเก็บน�้า เพื่อป้องกันการซึมของ
น�้าลงไปใต้ดิน