Page 158 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 158

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           139





                          ถั่วเหลือง มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 134,422 ไร่หรือร้อยละ 8.15 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                  มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 411,386 ไร่หรือร้อยละ 24.93 ของพื้นที่ลุ่มน้้า และมีพื้นที่ที่

                  มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 797,678 ไร่หรือร้อยละ 48.40 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                          สับปะรด มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 159 ไร่หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้า มี
                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 349,671 ไร่หรือร้อยละ 21.19 ของพื้นที่ลุ่มน้้า และมีพื้นที่ที่มี

                  ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 991,606 ไร่หรือร้อยละ 60.10 ของพื้นที่ลุ่มน้้า


                  5.2 ข้อเสนอแนะ

                           1) ข้อมูลที่ได้จากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินนั้น ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในส่วนต่างๆ
                  เช่น คุณภาพที่ดินในพื้นที่นั้นๆ โดยปรับให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงในพื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยี

                  การผลิตของเกษตรกรภายในพื้นที่ หรือตัดคุณภาพที่ดินที่มีความส้าคัญน้อยบางตัว เช่น ในพื้นที่ลุ่มน้้า

                  สาขาคลองพระสทึงไม่มีลักษณะเป็นดินเค็ม จึงตัดข้อจ้ากัดการมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts, x) ออก

                  เพราะไม่มีเกลือมากเกินพอจนเป็นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของพืช เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพที่
                  เป็นจริงและเป็นปัจจุบัน

                           2) การประเมินความเหมาะสมของที่ดินในลักษณะนี้ เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นใน

                  การวางแผนการใช้ที่ดินโดยให้มีการเลือกน้าไปใช้ประโยชน์อย่างมีระบบตามความต้องการของผู้ใช้
                  ซึ่งชี้ให้เห็นความเหมาะสมของที่ดิน ส้าหรับการน้าไปใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภทหรือแต่ละ

                  ชนิด รวมถึงข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์และการจัดการที่ดินที่น้ามาปฏิบัติในภาพรวมอย่างกว้างๆ

                  เท่านั้น หากต้องการน้าไปใช้ประโยชน์ส้าหรับพื้นที่เฉพาะเจาะจงขึ้นจ้าเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลและ
                  น้าข้อจ้ากัดเฉพาะพื้นที่นั้นๆ มาประกอบการพิจารณาการประเมินความเหมาะสมของที่ดินด้วย

                           3) ควรน้าผลการศึกษาสมดุลของน้้าเพื่อการเกษตร ไปวางแผนการศึกษาการใช้ใน

                  โปรแกรมแบบจ้าลองเพื่อท้านายสถานการณ์เกิดภัยแล้งหรืออุทกภัย และการปลูกพืชให้สอดคล้องกับ
                  การวางแผนการใช้ที่ดิน

                           4) การประเมินความเหมาะสมของที่ดินส้าหรับการปลูกพืช บางครั้งเมื่อมีข้อจ้ากัดบาง

                  ประการท้าให้ความเหมาะสมของที่ดินส้าหรับการปลูกพืชนั้นลดลง เกษตรกรสามารถปรับปรุงหรือ

                  แก้ไขเพื่อลดข้อจ้ากัดนั้นได้ แต่ควรค้านึงถึงต้นทุนการผลิตที่ต้องเพิ่มขึ้นว่าเหมาะสมกับผลตอบแทน
                  ทางเศรษฐกิจหรือไม่


                  5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ

                           1) ทราบการกระจายตัวของพื้นที่ปลูกพืชต่างๆ ในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงที่ระดับความ

                  เหมาะสมต่างๆ เพื่อน้าไปวางแผนการปรับลดหรือเพิ่มพื้นที่ปลูกตามเป้าหมายการผลิตได้ เพื่อให้
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163