Page 156 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 156

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           137





                        ทรัพยากรน้้า ลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงมีล้าน้้าตามธรรมชาติ ประกอบด้วยล้าน้้าสายหลักที่

                  มีน้้าไหลตลอดปี และล้าน้้าสายรองที่มีน้้าไหลผ่านเป็นบางช่วงของปี ลักษณะทางกายภาพของลุ่มน้้า

                  มีรูปร่างลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยม มีลักษณะเป็นล้าน้้าสายสั้นๆ กระจายอยู่มากจะไหลสู่ล้าน้้าสายหลัก
                  โดยตรง ลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงมีลักษณะของล้าธารแบบที่มีการแตกกิ่งก้านสาขาคล้ายร่างแหของ

                  ใบไม้ มีทิศทางไม่แน่นอน ซึ่งท้าให้น้้าไหลไปได้หลายทิศทาง ปริมาณน้้าท่าในลุ่มน้้าสาขาคลองพระ

                  สทึงรายปี มีจ้านวน 1,111.06 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยในช่วงฤดูฝนมีปริมาณน้้าท่า 1,043.79 ล้าน

                  ลูกบาศก์เมตร ส่วนในฤดูแล้งมีปริมาณน้้าท่า 67.25 ล้านลูกบาศก์เมตร และปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยสูงสุด
                  ในเดือนกันยายน มีค่า 328.09 ล้านลูกบาศก์เมตร คุณภาพน้้าผิวดินในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงอยู่ใน

                  เกณฑ์มาตรฐานสามารถใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภคบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคและ

                  ปรับปรุงคุณภาพก่อน และสามารถใช้เป็นน้้าเพื่อการเกษตรได้ แหล่งน้้าใต้ดินในลุ่มน้้าสาขาคลอง

                  พระสทึงส่วนใหญ่อยู่ในชั้นหินอุ้มน้้าหินชั้นกึ่งแปรยุคใหม่ ซึ่งมีเนื้อที่ 912,106 ไร่หรือร้อยละ 55.28
                  ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา พบกระจายอยู่ทั่วลุ่มน้้าสาขา ด้านคุณภาพน้้าใต้ดินส่วนใหญ่มีอัตราการให้น้้า

                  น้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และมีปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้้าน้อยกว่า 500

                  มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วนบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาน้้าใต้ดินเพื่อน้าขึ้นมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการ
                  ขุดเจาะบ่อบาดาล อยู่บริเวณอ้าเภอเขาฉกรรจ์และวังน้้าเย็น จังหวัดสระแก้ว ด้านโครงการพัฒนา

                  แหล่งน้้า ในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงมีโครงการพัฒนาแหล่งน้้าผิวดินประเภทโครงการชลประทาน

                  ขนาดกลางจ้านวน 2 แห่ง และโครงการพัฒนาแหล่งน้้าใต้ดินประเภทบ่อน้้าบาดาลจ้านวน 281 บ่อ
                        ทรัพยากรป่าไม้ ในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงมีป่าไม้ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีเนื้อ

                  ที่ 395,440 ไร่หรือร้อยละ 23.97 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา โดยแบ่งเป็นพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซึ่งมี 2

                  แห่ง คือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน และพื้นที่ป่าสงวน
                  แห่งชาติ แต่จาการส้ารวจสภาพการใช้ที่ดินโดยกรมพัฒนาที่ดิน ปี 2557 พบว่า ในลุ่มน้้าสาขาคลอง

                  พระสทึงมีเนื้อที่ป่าไม้ เหลืออยู่เพียง 278,990 ไร่หรือร้อยละ 16.91 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา

                        การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึง ระหว่างปี 2553 และปี

                  2556 เกษตรกรส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อย ยางพารา และไม้ยืนต้น เพิ่มมากนั้นอาจเนื่องจาก
                  เป็นพืชเศรษฐกิจที่ตลาดต้องการ ส่วนล้าไย และพืชผัก มีพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในขณะที่ข้าวโพด

                  มีพื้นที่ปลูกลดลงอย่างมาก อาจเนื่องจากราคาผลผลิตที่ลดลง

                        ลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงมีสภาพการใช้ที่ดินภายในลุ่มน้้าที่ส้าคัญคือ พื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งมี
                  มากถึงร้อยละ 75.66 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา การใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่ท้าการเกษตรโดยอาศัยน้้าฝน

                  เป็นหลัก พืชที่ปลูกมากภายในลุ่มน้้า คือ ข้าวนาปี มันส้าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน ล้าไย และ

                  ยางพารา
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161