Page 157 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 157

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           138





                        การประเมินคุณภาพที่ดินภายในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงโดยการศึกษาตามวิธีขององค์การ

                  อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Framework) ได้ข้อสรุปดังนี้

                        ข้าวนาปี มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 95,842 ไร่หรือร้อยละ 5.81 ของพื้นที่ลุ่มน้้า มี

                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 22,902 ไร่หรือร้อยละ 1.39 ของพื้นที่ลุ่มน้้า
                        มันส าปะหลัง มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 14,116 ไร่หรือร้อยละ 0.86 ของพื้นที่ลุ่ม

                  น้้า มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  เนื้อที่ 572,391 ไร่หรือร้อยละ 34.69 ของพื้นที่ลุ่มน้้า และมี

                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 754,027 ไร่หรือร้อยละ 45.70 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                        ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 134,263 ไร่หรือร้อยละ 8.14 ของ
                  พื้นที่ลุ่มน้้า มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 453,328 ไร่หรือร้อยละ 27.48 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                  และมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 753,844 ไร่หรือร้อยละ 45.69 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                        อ้อยโรงงาน มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 539,584 ไร่หรือร้อยละ 32.72 ของ
                  พื้นที่ลุ่มน้้า และมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย  (S3)  เนื้อที่ 801,581 ไร่หรือร้อยละ 45.58 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                        ล าไย มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 174,720 ไร่หรือร้อยละ 10.59 ของพื้นที่ลุ่ม

                  น้้า และมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 85,500 ไร่หรือร้อยละ 5.18 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                        ยางพารา มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 135,725 ไร่หรือร้อยละ 8.22 ของพื้นที่ลุ่มน้้า มี
                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 411,186 ไร่หรือร้อยละ 24.92 ของพื้นที่ลุ่มน้้า และมีพื้นที่ที่มี

                  ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 796,575 ไร่หรือร้อยละ 48.28 ของพื้นที่ลุ่มน้้า


                          การประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงส้าหรับการปลูกพืชทางเลือก
                  ได้ผลดังนี้

                           ทุเรียน เงาะ มังคุดและลางสาด มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 159 ไร่หรือร้อยละ 0.01

                  ของพื้นที่ลุ่มน้้า มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 143,076 ไร่หรือร้อยละ 8.67 ของพื้นที่ลุ่ม
                  น้้า และมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 796,575 ไร่หรือร้อยละ 48.28 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                          มะม่วง มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 67,372 ไร่หรือร้อยละ 4.08 ของพื้นที่ลุ่มน้้า มี

                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 107,347 ไร่หรือร้อยละ 6.51 ของพื้นที่ลุ่มน้้า และมีพื้นที่ที่มี

                  ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 372,192 ไร่หรือร้อยละ 22.56 ของพื้นที่ลุ่มน้้า
                          พริกไทย มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 128,119 ไร่หรือร้อยละ 7.77 ของพื้นที่ลุ่มน้้า มี

                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 416,128 ไร่หรือร้อยละ 25.22 ของพื้นที่ลุ่มน้้า และมีพื้นที่ที่มี

                  ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เนื้อที่ 799,239 ไร่หรือร้อยละ 48.44 ของพื้นที่ลุ่มน้้า
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162