Page 24 - ผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่ปลูกในชุดดินนครพนม จังหวัดบึงกาฬ
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       16








                              2.3 น้ าหนักแห้งต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                              การศึกษาหาน้ าหนักแห้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแต่ละต ารับการทดลอง มีรายละเอียดดังนี้

                        (ตารางที่ 4)

                              ฤดูปลูกที่ 1 พบว่าน้ าหนักแห้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีค่าผันแปรอยู่ในช่วง 20.20 –  83.17
                        กรัมต่อต้น มีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนร้อยละ 23.80 และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ
                        ยิ่ง ซึ่งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ได้รับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน มีน้ าหนักแห้งต่อต้น มากกว่าการใส่ปุ๋ย

                        ครึ่งค่าวิเคราะห์ดินและข้าวโพดที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ย อย่างมีนัยส าคัญยิ่ง โดยมีน้ าหนักแห้งต่อต้น
                        เฉลี่ย 83.17 56.64 และ 20.20 กรัมต่อต้น ตามล าดับ ส่วนการใส่ปุ๋ยตามวิธีของเกษตรกร มีน้ าหนัก
                        แห้งต่อต้นไม่แตกต่างกันทางสถิติ กับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และการใส่ปุ๋ยครึ่งค่าวิเคราะห์ดิน
                        โดยการใส่ปุ๋ยตามวิธีของเกษตรกรมีน้ าหนักแห้งต่อต้นเฉลี่ย 67.07 กรัมต่อต้น

                              ฤดูปลูกที่ 2 พบว่าน้ าหนักแห้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีค่าผันแปรอยู่ในช่วง 18.62 –  73.20

                        กรัมต่อต้น มีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนร้อยละ 16.90 และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ
                        ยิ่ง ซึ่งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ได้รับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใส่ปุ๋ยครึ่งค่าวิเคราะห์ดิน และการ
                        ใส่ปุ๋ยตามวิธีของเกษตรกร มีน้ าหนักแห้งต่อต้นมากกว่าข้าวโพดที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยอย่างมีนัยส าคัญ
                        ยิ่ง โดยมีน้ าหนักแห้งต่อต้นเฉลี่ย 73.20 60.65 และ 69.28 กรัมต่อต้น ตามล าดับและข้าวโพดที่

                        ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยมีน้ าหนักแห้งต่อต้นเฉลี่ย 69.28 กรัมต่อต้น

                              จากผลการทดลองพบว่าปุ๋ยมีผลต่อน้ าหนักแห้งต่อต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งต ารับการทดลอง
                       ที่ใส่ปุ๋ยจะมีความแตกต่างกับต ารับการทดลองที่ไม่ใส่ปุ๋ยอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง โดยผลดังกล่าวสอดคลอง
                       กับ Asghar  and  Kanehiro  (1977)  ที่ได้ท าการศึกษาผลของไนโตรเจนต่อน้ าหนักแห้งของล าต้น

                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พบว่า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่ไม่ได้รับปุ๋ยไนโตรเจนมีน้ าหนักแห้งของล าต้นเท่ากับ
                       18.9 กรัมต่อกระถาง และที่ได้รับปุ๋ยไนโตรเจน 38.5 กิโลกรัมต่อไร่ มีน้ าหนักแห้งของล าต้นข้าวโพด
                       เลี้ยงสัตว์เท่ากับ 72.4 กรัมต่อกระถาง (ทุกกรรมวิธีใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส 19.4 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ยโพแทช
                       เซียม 35.8 กิโลกรัมต่อไร่) และ Grant et al. (2001) ได้กล่าวว่าการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสครั้งแรกในช่วง
                       20-25 วันหลังงอก จะท าให้ขาดฟอสฟอรัสในช่วงระยะแรกของการเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                       ท าให้อัตราการงอกใบใหม่ช้าลง ขนาดใบเล็กลงโดยเฉพาะใบล่าง และการใส่ปุ๋ยฟอสเฟต และโพแทช
                       เป็นปุ๋ยรองพื้นจะช่วยให้การเจริญเติบโตของข้าวโพดดีขึ้น ถึงแม้ว่าค่าวิเคราะห์ดินจะมีฟอสฟอรัสและ
                       โพแทสเซียมสูงก็ตาม เช่นเดียวกันกับการทดลองของ Tabatbii et al. (2011) ได้ท าการศึกษาผลของ

                       ปุ๋ยโพแทสเซียมต่อน้ าหนักแห้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พบว่าอัตราการใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมเพิ่มขึ้น ส่งผล
                       ให้น้ าหนักแห้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้น
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29