Page 21 - ผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่ปลูกในชุดดินนครพนม จังหวัดบึงกาฬ
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       13








                                                     ผลการทดลองและวิจารณ์

                              การศึกษาผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่ปลูกใน

                       ชุดดินนครพนม ได้ท าการศึกษาโดยเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยเคมีอัตราต่างๆ ต่อการเจริญเติบโตและ
                       ผลผลิต รวมถึงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้


                       1. สมบัติทางเคมีของดินก่อนการทดลอง

                              สมบัติทางเคมีของดินก่อนการทดลองในดินชั้นบนที่ระดับความลึก 0-15  เซนติเมตร พบว่า

                       pH เป็นกรดจัด 4.64 ค่าการน าไฟฟ้าไม่มีผลกระทบตอการเจิญเติบโตของพืช คือ 0.09 มิลลิซีเมนต่อ

                       เซนติเมตร ปริมาณอินทรียวัตถุค่อนข้างต่ า 1.11 เปอร์เซนต์ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้อยู่ในระดับ
                       ต่ า คือ 1.01 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และโพแทสเซียมที่สกัดได้อยู่ในระดับต่ า คือ 16 มิลลิกรัมต่อ

                       กิโลกรัม จากผลการวิเคราะห์ดินดังกล่าวน าไปประเมินปริมาณธาตุอาหารที่ใช้ส าหรับข้าวโพดเลี้ยง
                       สัตว์ในแต่ละต ารับการทดลอง (ตารางที่ 2)


                       ตารางที่ 2 สมบัติทางเคมีของดินก่อนการทดลอง

                           ชุดดินนครพนม        pH           EC        OM      Avail. P     Extract. K
                                                         (mS/cm)      (%)     (mg/kg)      (mg/kg)

                                              4.64         0.09      1.11      1.01          16




                       2. การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                              2.1 ความสูงของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                              การศึกษาการเจริญเติบโตด้านความสูง โดยท าการวัดความสูงของต้นจากผิวดินถึงข้อของใบ

                       ธงเพื่อค านวณหาค่าเฉลี่ยความสูงของต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแต่ละต ารับการทดลอง มีรายละเอียด
                       ดังนี้ (ตารางที่ 3)

                              ฤดูปลูกที่ 1 พบว่าความสูงเฉลี่ยของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีค่าผันแปรอยู่ในช่วง 76.04 –
                       160.78 เซนติเมตร มีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน ร้อยละ 6.19 และมีความแตกต่างกันอย่างมี
                       นัยส าคัญยิ่ง  ซึ่งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ได้รับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน มีความสูงมากกว่าการใส่ปุ๋ย

                       ตามวิธีของเกษตรกรและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ย อย่างมีนัยส าคัญยิ่ง โดยมีความสูงเฉลี่ย
                       164.86 140.65 และ 74.90 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนการใส่ปุ๋ยครึ่งค่าวิเคราะห์ดินมีความสูงไม่
                       แตกต่างกันทางสถิติ กับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และการใส่ปุ๋ยตามวิธีของเกษตรกร โดยการใส่
                       ปุ๋ยครึ่งค่าวิเคราะห์ดินมีความสูงเฉลี่ย 159.26 เซนติเมตร

                              ฤดูปลูกที่ 2 พบว่าความสูงเฉลี่ยของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีค่าผันแปรอยู่ในช่วง 98.46 –

                       140.31 เซนติเมตร มีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน ร้อยละ 7.57 และมีความแตกต่างกันอย่าง
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26