Page 59 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          50


                  ตารางที่ 11  แสดงรายได้ก่อนและหลังด าเนินงานในนาข้าว


                          ปี 2556               ปี 2557                          หมายเหตุ


                          120,000               150,000        มีรายได้มากกว่าเดิม 30,000 บาท คิดเป็น 25%


                                                      สรุปผลการด าเนินงาน


                         1. การเปรียบเทียบผลของการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพกับไม่ไถกลบ
                  พืชปุ๋ยสดและตอซังพืช พบว่า ปริมาณฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมทั้ง 2 วิธีการมีการเปลี่ยนแปลงที่ไม่แตกต่าง

                  กัน ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกัน ก่อนการปลูกข้าวทั้ง 2 วิธีการ  มีค่าอยู่ในระดับ
                  ต่ ามาก หลังการปลูกข้าววิธีการไถกลบตอซังจะมีค่าอยู่ในระดับสูง แต่ถ้าไม่มีการไถกลบตอซัง จะมีค่าอยู่ใน
                  ระดับต่ ามากเหมือนเดิมและค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของดินทั้ง 2 วิธีการ ก่อนการปลูกข้าวทั้ง 2 วิธีการ
                  มีค่าอยู่ในระดับเป็นกรดเล็กน้อย หลังการปลูกข้าววิธีการไถกลบตอซังค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)  จะอยู่ใน

                  ระดับเป็นกรดปานกลางซึ่งเหมาะส าหรับการปลูกข้าว ส่วนวิธีการไม่ไถกลบตอซังจะมีค่า ความเป็นกรดเป็น
                  ด่าง (pH) อยู่ในระดับเป็นกรดเล็กน้อยเหมือนเดิม ส่วนผลผลิตของข้าวที่ปลูกพบว่า ผลผลิตของทั้ง 2วิธีการจะ
                  มีความแตกต่างกันทางสถิติ วิธีการที่มีการไถกลบตอซังจะให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,100 กิโลกรัมต่อไร่  มีผลผลิต
                  เพิ่มขึ้นร้อยละ 73.77  เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีการไถกลบซึ่งให้ผลผลิต  633  กิโลกรัมต่อไร่

                         2. การใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพและเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน  พบว่า  ในการปลูกผักสามารถลด
                  ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานได้ร้อยละ 43.53 และมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 70   และในนาข้าวสามารถลด
                  ค่าใช้จ่ายในการด าเนินการได้ร้อยละ 88 และมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 25


                  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

                         1. เกษตรกรจะได้รับประโยชน์จากการไถกลบตอซังและส่งผลให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

                         2. ท าให้ดินอุดมสมบูรณ์  อินทรียวัตถุและธาตุอาหารเพิ่มขึ้น
                         3. เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64