Page 17 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7
หมักชีวภาพไหลไปตามน้ า ขณะที่เปิดน้ าเข้านาจนทั่วแปลง ใช้รถตีฟาง ย่ าฟางให้จมลงดิน หมักฟาง
ทิ้งไว้เป็นเวลา 20 วัน ไถ คราด ท าเทือก เพื่อปลูกข้าวต่อไปตามปกติ
(2) จุดเรียนรู้การผลิตน้ าหมักชีวภาพ ท าการผลิตน้ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์
พด.2 โดยใช้น้ าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักผลไม้และผัก ก่อนใช้ผสมน้ าหมักชีวภาพเข้มข้น 1 ลิตร
ต่อน้ าสะอาด 500 ลิตร ฉีดพ่นที่ใบและล าต้น 10 วันต่อครั้ง เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืช เพิ่มการ
ขยายตัวของใบ และการยืดตัวของล าต้น ท าให้ออกดอกและติดผลดีขึ้น
วัสดุส าหรับผลิตน้ าหมักชีวภาพ จ านวน 50 ลิตร
1. ปลา 30 กิโลกรัม
2. สับปะรด 10 กิโลกรัม
3. กากน้ าตาล 10 กิโลกรัม
4. ร าข้าว 1 กิโลกรัม
5. น้ าสะอาด 10 ลิตร
6. สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 1 ซอง (25 กรัม)
วิธีท า
1. ละลายสารเร่งซุปเปอร์พด.2 ในน้ า 10 ลิตร ผสมให้เข้ากัน 5 นาที
2. ผสมเศษวัสดุและกากน้ าตาลลงในถังหมักแล้วเทสารละลายซุปเปอร์ พด.2 ผสมลงในถังหมัก
3. คลุกเคล้าให้ส่วนผสมเข้ากันอีกครั้ง
4. ปิดฝาไม่ต้องสนิท
5. คนวัสดุหมักทุกวัน เพื่อระบายความร้อนจากการหมักและเร่งปฏิกิริยาของจุลินทรีย์
1.4.4 การเก็บข้อมูล
1) การเก็บข้อมูลดิน เก็บตัวอย่างดินก่อนและหลังการปลูกข้าว เก็บตัวอย่างดินที่
ชั้นความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหาร ฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์ โพแทสเซียมที่ละลายน้ าได้ ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ปริมาณอินทรียวัตถุของดิน
2) การเก็บข้อมูลด้านพืช ได้แก่ การเก็บผลผลิตข้าวที่อายุ 90 วัน
3) เก็บข้อมูลด้านเศรษฐกิจและรายได้
4) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบข้อมูลเมื่อไถกลบตอซังและไม่ไถกลบตอซัง