Page 15 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          4


                  ก่าเนิดดิน  จ่าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้กลุ่มที่ 1 เนื้อดินที่เป็นดินเหนียว  มีพื้นที่

                  0.002 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 28, 29, 31, 54 และ 55  กลุ่มที่ 2 เนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีพื้นที่ 0.52 ล้าน
                  ไร่  ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 33, 35, 36, 37, 38, 40, 56 และ 60  กลุ่มที่ 3 เนื้อดินที่เป็นดินทราย มีพื้นที่ 0.14

                  ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 41 และ 44  และกลุ่มที่ 4 เนื้อดินที่เป็นดินตื้น มีพื้นที่ 0.02 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุด

                  ดินที่ 46, 47, 48, 49, 52 และ 61
                             4) สภาพพื้นที่ภูเขาสูง มีพื้นที่ 13.01 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62

                             5) พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีพื้นที่ 3.20 ล้านไร่
                             6) พื้นที่น้่า มีพื้นที่ 1.01 ล้านไร่


                         1.3 ทรัพยากรดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยพื้นที่ 20 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์
                  ขอนแก่น  ชัยภูมิ  นครพนม  นครราชสีมา  บึงกาฬ  บุรีรัมย์  มหาสารคาม  มุกดาหาร  ยโสธร  ร้อยเอ็ด

                  เลย  สกลนคร  สุรินทร์  ศรีสะเกษ  หนองคาย  หนองบัวล่าภู  อุดรธานี  อุบลราชธานี และอ่านาจเจริญ  ส่วน
                  ใหญ่ดินมีศักยภาพทางการเกษตรต่่า  เนื่องจากดินมีข้อจ่ากัดในเรื่องเนื้อดิน เช่น มีเนื้อดินออกทรายจัดหรือ

                  ดินร่วนหยาบ  ท่าให้มีความจุในการอุ้มน้่าต่่า  ดินตื้นหรือดินมีก้อนกรวดลูกรังปะปนหนาแน่นในระดับตื้นถึง

                  ตื้นมาก  ดินเค็มและพื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับผลกระทบจากความเค็มของดินและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่่า
                  ดินปัญหาที่พบ ประกอบด้วย ดินเค็มบก  ดินทรายและดินตื้น มีพื้นที่ที่รวม 105.53 ล้านไร่หรือประมาณหนึ่งใน

                  สามของพื้นที่ทั้งประเทศ  โดยมีพื้นที่เกษตรกรรม 71.68 ล้านไร่ เป็นพื้นที่การท่านา 45.85 ล้านไร่  พืชไร่
                  17.26 ล้านไร่  ไม้ยืนต้น 6.49 ล้านไร่  ไม้ผล 1.17 ล้านไร่  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้่า 0.29 ล้านไร่ และอื่นๆ

                  0.62 ล้านไร่  แบ่งตามสภาพพื้นที่ได้ 5 สภาพ ดังนี้

                             1) สภาพพื้นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ 29.62 ล้านไร่  ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปาน
                  กลาง  มีความอุดมสมบูรณ์ต่่า  จ่าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 5 กลุ่ม ดังนี้กลุ่มที่ 1 เนื้อดินที่เป็นดิน

                  เหนียว มีพื้นที่ 5.92 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1, 4, 6 และ 7  กลุ่มที่ 2 เนื้อดินเป็นดินร่วน มีพื้นที่ 15.64
                  ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 15, 16, 17, 18, 19, 22 และ 59  กลุ่มที่ 3 เนื้อดินเป็นดินทราย มีพื้นที่ 0.52 ล้าน

                  ไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 24  กลุ่มที่ 4 เนื้อดินที่เป็นดินตื้น มีพื้นที่ 5.33 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 25 และกลุ่ม

                  ที่ 5 ดินที่เป็นดินเค็ม มีพื้นที่ 0.05 ล้านไร่  พบในบริเวณที่มีหินเกลือรองรับ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 20
                             2) สภาพพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง มีพื้นที่ 62.32 ล้านไร่  ปฏิกิริยาดินมีตั้งแต่เป็นกรดจัดถึง

                  เป็นกรดเล็กน้อย  ความอุดมสมบูรณ์ต่่า  มักพบอิทธิพลของชั้นวัตถุต้นก่าเนิดดินพวกหินตะกอนในหน้าตัดดิน
                  จ่าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้กลุ่มที่ 1 เนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีพื้นที่ 5.33 ล้านไร่

                  ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 28, 29, 31, 54 และ 55  กลุ่มที่ 2 เนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีพื้นที่ 38.77 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่ม

                  ชุดดินที่ 33, 35, 36, 37, 38, 40, 56 และ 60  กลุ่มที่ 3 เนื้อดินที่เป็นดินทราย มีพื้นที่ 8.01 ล้านไร่ ได้แก่
                  กลุ่มชุดดินที่ 41 และ 44  และกลุ่มที่ 4 เนื้อดินที่เป็นดินตื้น มีพื้นที่ 7.14 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 46, 47,

                  48, 49 และ 52
                             3) สภาพพื้นที่ภูเขาสูง มีพื้นที่ 10.88 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62

                             4) พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีพื้นที่ 0.81 ล้านไร่
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20