Page 79 - การประเมินความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจในการผลิตพืชเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาของลุ่มน้ำหลัก : โตนเลสาป ปีการผลิต 2555/56
P. 79

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           2-55






                  ตารางที่ 2-20 สภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของเกษตรกรในพื้นที่ลุ่มนํ้าสาขาห้วยพรมโหด (1702)

                             ปีการผลิต 2554-2555


                                               ปี 2554                              ปี 2555
                                           พื้นที่   ผลผลิต  ผลผลิต            พื้นที่   ผลผลิต  ผลผลิต
                     ชนิดพืช     พื้นที่ปลูก   เก็บเกี่ยว   รวม   เฉลี่ย   พื้นที่ปลูก   เก็บเกี่ยว   รวม   เฉลี่ย
                                  (ไร่)                                (ไร่)
                                            (ไร่)   (ตัน)    (กก./ไร่)          (ไร่)   (ตัน)    (กก./ไร่)
                  ข้าว           373,232  370,047   132,278   357     425,501   421,986   200,453   475
                    ข้าวเจ้านาปี   362,740   360,020  127,218   353   415,405  412,301  195,523   474
                    ข้าวเจ้านาปรัง  9,902  9,489    4,848     511      9,900   9,489    4,850     511
                    ข้าวเหนียวนาปี  590     538      212      394      196      196      80       408
                  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์  172,502  162,820  144,258   886  124,714  122,854   88,957   724
                  มันสําปะหลัง   428,554  408,985  1,870,697  4,574   400,954   386,448  1,301,529   3,368
                  อ้อยโรงงาน     231,613  231,233  2,427,946  10,500  280,142  236,782  2,250,316  9,504

                  หมายเหตุ :  ข้อมูลการเพาะปลูกข้าวเป็นข้อมูลระดับอําเภอ พืชอื่นๆ เป็นข้อมูลระดับจังหวัดที่มีขอบเขตอยู่ในลุ่มนํ้าสาขาห้วยพรมโหด (1702)
                         ในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว
                  ที่มา :  สํานักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว (2556)

                                      (2)การปศุสัตว์

                                         การผลิตทางด้านปศุสัตว์ในพื้นที่ลุ่มนํ้าสาขาห้วยพรมโหด (1702) มีสัตว์

                  เศรษฐกิจที่เกษตรกรนิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร ไก่ และเป็ด ซึ่งการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจดังกล่าว
                  จะกระจายอยู่ทั่วไปในอําเภอที่มีขอบเขตอยู่ในพื้นที่ดําเนินการศึกษา รายละเอียดของการเลี้ยงสัตว์

                  เศรษฐกิจ มีดังนี้ (ตารางที่ 2-21 และภาคผนวกที่ 2)

                                         โคเนื้อ มีการเลี้ยงกระจายไปในทุกอําเภอ ในปี 2553 มีการเลี้ยงโคเนื้อ

                  จํานวน 34,667 ตัว อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จํานวน
                  21,081 ตัว หรือร้อยละ 60.81 ของจํานวนโคเนื้อที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาห้วยพรมโหด (1702) ในปี 2554

                  มีการเลี้ยงโคเนื้อ จํานวน 36,238 ตัว ซึ่งปริมาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 4.53 อําเภอที่มีการเลี้ยง

                  มากที่สุด ได้แก่ อําเภออรัญประ เทศ จังหวัดสระแก้ว จํานวน 21,501 ตัว หรือร้อยละ 59.33 ของจํานวน
                  โคเนื้อที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาห้วยพรมโหด (1702) ในปี 2555 มีการเลี้ยงโคเนื้อจํานวน 24,021 ตัว

                  ซึ่งปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 33.71 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอวัฒนานคร

                  จังหวัดสระแก้ว จํานวน 11,758 ตัว หรือร้อยละ 48.95 ของจํานวนโคเนื้อที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขา
                  ห้วยพรมโหด (1702) โดยเกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อ เฉลี่ยครัวเรือนละ 10 ตัว ซึ่งเป็นการเลี้ยงเพื่อการบริโภค

                  ใช้แรงงานหรือจําหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริม
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84