Page 77 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          55


               ตารางที่ 15 ทรัพยากรดิน พื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน

                 ล าดับ  หน่วยแผนที่                        ค าอธิบาย                             เนื อที่

                   ที่                                                                        ไร่    ร้อยละ
                1       AC-spd,fsi-lA  ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว      923      0.69

                                     และเป็นดินทรายแป้งละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน
                                     ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
                2       AC-spd,fl-lA  ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว     4,525      3.40
                                     และเป็นดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน
                                     ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์

                3       Mkn-slA      ชุดดินแม่ขาน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย              9,288      6.98
                                     ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
                4       Na-fsi-silA   ดินน่านที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน  1,737   1.30

                                     ทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
                5       Ws-clB       ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว              452      0.34
                                     ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                6       Ws-clC       ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว            7,596      5.70

                                     ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
                7       Ws-clD       ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว            9,028      6.78
                                     ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์
                8       Ws-clE       ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว            8,030      6.03

                                     ความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์
                9       Ws-clF       ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว              170      0.13
                                     ความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์
                10      Ws-gm-clB  ดินวังสะพุงที่มีจุดประสีเทา มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว   200      0.15

                                     ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                11      Ws-vd,gm-    ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมากและมีจุดประสีเทา                26      0.02
                        clB          มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

                12      Ws-vd-clB  ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว   6,020    4.52
                                     ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                13      Ws-vd-clC  ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว   1,527    1.15
                                     ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
                14      Ws-vd,fl-clB  ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมากและเป็นดินร่วนละเอียด         393      0.30

                                     มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                15      Ws-vd,fl-clC  ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมากและเป็นดินร่วนละเอียด       1,361      1.02
                                     มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์

                16       Ws-vd-Ws-vd,  หน่วยเชิงซ้อนของดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก และดินวังสะพุงที่ 2,028   1.52
                         gm-clB      เป็นดินลึกมากและมีจุดประสีเทา มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว
                                     ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82