Page 81 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 81

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          59


                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกลิ้นจี่ มีข้อจ ากัดเรื่องความลึกที่พบชั้นหินพื้น ได้แก่ หน่วยแผนที่
               Ws-clB Ws-clC Ws-clD และ Ws-clE มีเนื้อที่ 25,106 ไร่ หรือร้อยละ 18.85 ของพื้นที่

                           - ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกลิ้นจี่ มีข้อจ ากัดเรื่องความลึกที่พบชั้นหินพื้น ได้แก่ หน่วยแผนที่
               Li-sgclB Li-sgclC Li-sgclD Li-gclD และ Li-gclE มีเนื้อที่ 11,150 ไร่ หรือร้อยละ 8.38 ของพื้นที่
                           - ไม่เหมาะสมส าหรับปลูกลิ้นจี่ มีข้อจ ากัดเรื่องอันตรายจากน้ าแช่ขังและสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่
               AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA และ Mkn-slA Na-fsi-silA มีเนื้อที่ 16,473 ไร่ หรือร้อยละ 12.37 ของพื้นที่

                        11) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกล าไย
                           - เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกล าไย ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-vd-clB Ws-vd-clC Ws-vd,fl-clB และ
               Ws-vd,fl-clC มีเนื้อที่ 9,301 ไร่ หรือร้อยละ 6.99 ของพื้นที่
                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกล าไย มีข้อจ ากัดเรื่องความลึกที่พบชั้นหินพื้นและสภาพพื้นที่ ได้แก่

               หน่วยแผนที่ Ws-clB Ws-clC และ Ws-clD มีเนื้อที่ 17,076 ไร่ หรือร้อยละ 12.82 ของพื้นที่
                           - ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกล าไย ข้อจ ากัดเรื่องความลึกที่พบชั้นหินพื้นและสภาพพื้นที่ ได้แก่
               หน่วยแผนที่ Li-sgclB Li-sgclC Li-sgclD Li-gclD Li-gclE และ Ws-clE มีเนื้อที่ 19,180 ไร่ หรือร้อยละ 14.41
               ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับปลูกล าไย มีข้อจ ากัดเรื่องอันตรายจากน้ าแช่ขังและสภาพพื้นที่ ได้แก่
               หน่วยแผนที่ AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA Mkn-slA และ Na-fsi-silA มีเนื้อที่ 16,473 ไร่ หรือร้อยละ 12.37 ของพื้นที่
                        12) ความเหมาะสมของดินส าหรับหน่วยแผนที่พิเศษ

                           - ดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน เป็นบริเวณพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนเป็นพื้นที่ ภูเขา ที่มีความลาดชัน
               มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป ไม่เหมาะที่จะน ามาใช้ท าการเกษตร เพราะหากมีการใช้ที่ดินเพาะปลูกพืชไม่ถูกต้อง
               จะเกิดปัญหาการกร่อนดินและการเสื่อมโทรมของดินอย่างรวดเร็ว จึงไม่มีความเหมาะสมที่จะน ามาใช้
               ทางการเกษตร ควรสงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติหรือปลูกป่าเพิ่มเติมเพื่อช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ หน่วยแผนที่
               Ws-clF และ Li-gclF มีเนื้อที่ 68,380 ไร่ หรือร้อยละ 51.36 ของพื้นที่

                           - บริเวณที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่เหมาะสมกับศักยภาพของดิน กล่าวคือลักษณะของดินมีความ
               เหมาะสมในการปลูกพืชไร่ ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น แต่พื้นที่นั้นได้ถูกดัดแปลงมาใช้ท านาโดยท าคันดินเพื่อกักเก็บน้ า
               เนื่องจากเกษตรกรต้องการปลูกข้าวไว้เพื่อบริโภค จึงดัดแปลงพื้นที่ดังกล่าวที่เป็นพื้นที่ดอนมาใช้ปลูกข้าว โดยทั่วไป

               สภาพพื้นที่นี้ไม่สามารถกักเก็บน้ าได้เนื่องจากเป็นดินมีการระบายน้ าดี จึงต้องมีการท าคันนา แต่ดินจะมีความเสี่ยงสูง
               ต่อการขาดน้ าในฤดูเพาะปลูก ท าให้ได้ผลผลิตของข้าวไม่มากเมื่อเทียบกับการใช้พื้นที่นั้นใช้ปลูกพืชที่เหมาะสม
               ตามศักยภาพของดิน ซึ่งดินดอนที่ใช้ท านาดังกล่าวหากเลือกระบบการปลูกพืชให้เหมาะสม หรือเลือกชนิดของพืช
               ให้สอดคล้องกับศักยภาพของดินเอง โดยการปรับเปลี่ยนมาใช้ปลูกพืชไร่ หรือปลูกพืชหลังฤดูท านา จะเป็นการใช้

               ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมและตรงตามกับศักยภาพของดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-gm-clB Ws-vd,gm-clB และ
               Ws-vd-Ws-vd,gm-clB มีเนื้อที่ 2,254 ไร่ หรือร้อยละ 1.69 ของพื้นที่
                        13) พื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ หน่วยแผนที่ W มีเนื้อที่ 474 ไร่ หรือ ร้อยละ 0.36 ของพื้นที่
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86