Page 72 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 72

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          50


                           ชุดดินวังสะพุง พบ 5 หน่วยแผนที่ ได้แก่
                              - Ws-clB : ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

               เนื้อที่ 452 ไร่ หรือร้อยละ 0.34 ของพื้นที่
                              - Ws-clC : ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
               เนื้อที่ 7,596 ไร่ หรือร้อยละ 5.70 ของพื้นที่
                              - Ws-clD : ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์

               เนื้อที่ 9,028 ไร่ หรือร้อยละ 6.78 ของพื้นที่
                              - Ws-clE : ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์
               เนื้อที่ 8,030 ไร่ หรือร้อยละ 6.03 ของพื้นที่
                              - Ws-clF : ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์

               เนื้อที่ 170 ไร่ หรือร้อยละ 0.13 ของพื้นที่





















               ภาพที่ 15 สภาพพื้นที่และลักษณะของชุดดินวังสะพุง


                           (7) ดินวังสะพุงที่มีจุดประสีเทา (Wang Saphung gray mottle variant : Ws-gm) จ าแนกได้เป็น
               Fine, mixed, semiactive, isohyperthermic Aquic Haplustalfs
                           เป็นดินที่เกิดจากการสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายในระยะทางใกล้ๆ จากวัตถุต้นก าเนิดดิน มีการ
               ท าคันนาและให้น้ าขังจนมีจุดประสีเทา สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย (2-5 เปอร์เซ็นต์) การระบายน้ า

               ค่อนข้างเลวในดินบนและดีในดินล่าง น้ าซึมผ่านได้ดีปานกลางถึงเร็ว ดินอุ้มน้ าได้ดีปานกลาง การไหลบ่าของน้ า
               ผ่านผิวดินปานกลางถึงเร็ว
                           เป็นดินลึกปานกลาง ดินบนที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว สีน้ าตาล
               ปนเทาหรือสีน้ าตาล มีจุดประสีเทา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างตอนบนมี

               เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนชมพูหรือสีเทาปนแดงและสีน้ าตาลปนแดง มีจุดประสีเทา
               ชั้นดินล่างถัดมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว สีน้ าตาลปนแดง สีแดงปนเหลืองหรือสีแดง อาจพบจุดประสีเหลืองและสีเทา
               ช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนเศษหินอยู่บนชั้นหินพื้นผุ สีน้ าตาลปนแดง
               สีแดงปนเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) (ภาพที่ 16)

                           ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติของดินอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจุบันได้มีการปรับพื้นที่หรือท าคัน
               นาเพื่อกักเก็บน้ า เพื่อใช้ในการปลูกข้าว ซึ่งเป็นการใช้ที่ดินผิดประเภท อาจขาดแคลนน้ าในระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77