Page 78 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          56


                ตารางที่ 15 (ต่อ)

                 ล าดับ  หน่วยแผนที่                        ค าอธิบาย                             เนื อที่

                   ที่                                                                        ไร่    ร้อยละ
                17       Li-sgclB    ชุดดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวดเล็กน้อย     341      0.26
                                     ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

                18       Li-sgclC    ชุดดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวดเล็กน้อย     797      0.60
                                     ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
                19       Li-sgclD    ชุดดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวดเล็กน้อย    4,719     3.54
                                     ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์

                20       Li-gclD     ชุดดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด             168      0.13
                                     ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์
                21       Li-gclE     ชุดดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด           5,125      3.85

                                     ความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์
                22       Li-gclF     ชุดดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด          68,210     51.23
                                     ความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์
                23       W           พื้นที่น้ า                                               474      0.36

                                                   รวม                                     133,138  100.00


                     7.1.3 ความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ
                        จากการจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจในพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน
               ลุ่มลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน โดยจ าแนกตามคู่มือการจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจของ

               ประเทศไทยจ านวน 11 ชนิด (ตารางที่ 16) โดยคัดเลือกจากพืชเศรษฐกิจของจังหวัดน่าน หรือเป็นพืชที่ปลูกอยู่แล้ว
               ในพื้นที่จ านวน 8 ชนิด ได้แก่ ข้าว หญ้าเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพด ยางพารา มะม่วง มะขาม ส้ม ลิ้นจี่ และล าไย และพืช
               ทางเลือกที่ปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ปลูกในพื้นที่จ านวน 2 ชนิด ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน และมันส าปะหลัง จ าแนกออกเป็น

               5 ระดับ และสามารถสรุปศักยภาพของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ (ตารางที่ 17 และภาพที่ 19) ได้ดังนี้
                        1) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกข้าว
                           - เหมาะสมดีส าหรับปลูกข้าว มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง และมีเนื้อ
               ดินบนเป็นดินร่วน ได้แก่ หน่วยแผนที่ Na-fsi-silA มีเนื้อที่ 1,737 ไร่ หรือร้อยละ 1.30 ของพื้นที่

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกข้าว มีข้อจ ากัดปานกลางที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย
               เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ า และมีอันตรายจากการถูกน้ าท่วม ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA
               และ Mkn-slA มีเนื้อที่ 14,736 ไร่ หรือร้อยละ 11.07 ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับปลูกข้าว มีข้อจ ากัดเรื่องการระบายน้ าของดินและสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่
               Li-sgclB Ws-clB Ws-vd-clB Ws-vd,fl-clB Li-sgclC Li-sgclD Li-gclD Li-gclE Ws-clC Ws-clD Ws-clE Ws-vd-clC
               และ Ws-vd,fl-clC มีเนื้อที่ 45,557 ไร่ หรือร้อยละ 34.22 ของพื้นที่
                        2) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์
                           - เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Li-sgclB Li-sgclC Li-sgclD Li-gclD

               Ws-clB Ws-clC Ws-clD Ws-vd-clB Ws-vd-clC Ws-vd,fl-clB และ Ws-vd,fl-clC มีเนื้อที่ 32,402 ไร่ หรือร้อยละ
               24.34 ของพื้นที่
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83